โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด |
รหัสโครงการ | 64-L5278-1-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลเมืองบ้านพรุ |
วันที่อนุมัติ | 2 ธันวาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 50,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.929,100.49place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ม.ค. 2564 | 31 ส.ค. 2564 | 50,000.00 | |||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 50,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาหารคือปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารที่บริโภคนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนก่ออาจก่อให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภคได้ การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือคุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน จากการตรวจสอบในพื้นที่พบว่าในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีตลาดและร้านค้าที่จำหน่ายอาหารสดอยู่มาก ซึ่งหากมีสารปนเปื้อนในอาหารที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนได้ การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เกิดการเจ็บป่วยจากอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำในการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 8 | 50,000.00 | 0 | 0.00 | 50,000.00 | |
1 - 31 ม.ค. 64 | กิจกรรมการอบรม | 4 | 31,800.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 64 - 31 พ.ค. 64 | ตรวจสอบสารปนเปื้อนร้านจำหน่ายอาหาร | 4 | 18,200.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 8 | 50,000.00 | 0 | 0.00 | 50,000.00 |
1.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่าง ๆ
2.อบรมแ่นนำเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการตรวจสอบเฝ้าระวังและแก้ปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารสดของร้านจำหน่ายอาหารสดชุมชนภายในเดือนมกราคม 2564
3.ออกให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านอาหารตามข้อกำหนดต้านสุขาภิบาลอาหาร ตรวจสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารโดยใช้ชุด Test Kit ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน 2564
4.เฝ้าระวังตรวจสอบสารปนเปื้อนในชุมชนโดยแกนนำ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2564
5.ให้คำแนะนำผู้ประกบอการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในตลาด
6.ทำหนังสือแจ้งผลการตรวจแก่ผู้ประกอบการ รวมทั้งแจ้งผลแก่แม่ค้ากรณีพบสารปนเปื้อนเพื่อการแก้ไขต่อไป
1.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขาภาพ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อน ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม ปลอดภัย 2.เกิดการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารสดที่จำหน่ายในพื้นที่ 3.ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยของประชาชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2563 11:11 น.