โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง
ชื่อโครงการ | โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง |
รหัสโครงการ | 64-L5278-1-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลเมืองบ้านพรุ |
วันที่อนุมัติ | 2 ธันวาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 125,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.929,100.49place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2564 | 30 ก.ย. 2564 | 125,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 125,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 238 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเพศสัมพันธ์เสี่ยง | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับสองของมะเร็งในหญิงไทย พบได้ในผู้หญิงตั้งแต่วัยสาวถึงวัยชรา พบมากในช่วงอายุ ๓๐ - ๕๐ ปี โดยทุก ๆ ๒ นาที จะมีผู้หญิงเสียชีวิต ๑ คน ขณะที่หญิงไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก ๗ คน/วัน เป็น ๑๔ คน/วัน เสียชีวิตประมาณ ๔,๕๐๐ คน/ปี โดยในแต่ละปีจะมีหญิงไทยได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๘,๐๐๐ ราย/ปี ซึ่งร้อยละ ๔๐ - ๕๐ จะเสียชีวิตจากโรค และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยหญิงไทยส่วนใหญ่คิดว่าตัวเองไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง และมักเกิดความอายความกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นกว่าจะรู้ตัวว่ามีอาการผิดปกติ ความรุนแรงของโรคก็มักอยู่ในระยะลุกลาม โดยโรคมะเร็งปากมดลูกนั้นสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ ๓๐ – ๔๐ สามารถป้องกันได้ ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงที และอาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก ๒ – ๓ ปี ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตรา การป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
|
0.00 | |
2 | เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ลดลง |
1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 238 | 125,000.00 | 0 | 0.00 | 125,000.00 | |
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 | ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก | 238 | 125,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 238 | 125,000.00 | 0 | 0.00 | 125,000.00 |
1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธืให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุทราบเพื่อเข้าร่วมโครงการ 2.ติดตามผู้รับบริการเก่าให้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปี 3.ลงทะเบียนผู้รับบริากรเพื่อจัดลำดับคิวเข้ารับบริการ 4.ให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเมื่อผู้รับบริการมารับผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองบ้านพรุ
1.สามารถค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้ 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2563 12:52 น.