กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนบ้านตอออ ประจำปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L2518-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านตอออ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2544
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2544 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 9,640.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอรชินันท์ พรหมเจียม
พี่เลี้ยงโครงการ นายสวรรค์ สาและ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.956762,101.92776place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 72 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 นักเรียน ป.1-6
72.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษา เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็กนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปีซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานอาหารของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากเป็นโรคในช่องปาก เป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี และการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาพบว่าเด็กมีฟันผุร้อยละ 38
ทั้งนี้ ทางโรงเรียนเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฯนี้ขึ้นในนักเรียน ประถมศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี

เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดุแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี

72.00 1.00
2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและป้องกันโรคฟันผุโดยการตรวจสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกวิธี

เด็กนักเรียนดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคฟันผุด้วยตนเองโดยการตรวจสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกวิธี

72.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,640.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน 0 6,040.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 2 ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี 0 3,600.00 -

1.1.ขั้นตอนการวางแผน - ร่วมการประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมายจำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาสรุปรูปแบบวิธีการดำเนินงาน - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับปฏิบัติงานของแผนงานโครงการ 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ
3.ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานกับวิทยากร - ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแจ้งแผนการออกการดำเนินงาน - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน - จดทะเบียนป้ายการฝึกอบรม - ประชุมสถานที่ในการฝึกอบรมและการดำเนินงาน 4.ดำเนินการตามแผนดังนี้ - ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยครูประจำชั้น - จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากและการแปรงฟันอย่างถูกวิธีให้แก่นักเรียน - ให้นักเรียนแต่งฟันอย่างถูกวิธีหลังรับประทานอาหารเที่ยงที่โรงเรียน 5.ประเมินผลการดำเนินงาน 6.สรุปผลการดำเนินงานตามแผนโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 2.นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง 3.นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมอย่างถูกต้อง 4.นักเรียนเปลี่ยนแปลงทัศนคติและมีพฤติกรรมทางสุขภาพดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2563 14:30 น.