กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายทรงพล อารมณ์เย็น

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2564-L5275-02-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2564-L5275-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยรุ่น เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหาร สิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ประสิทธิภาพการทำงานจะต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ  (ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล  กองโภชนาการ กรมอนามัย )       เมื่อพูดถึงการเจริญเติบโตของเด็ก หลายคนเข้าใจว่า ดูได้จากน้ำหนักและส่วนสูง ซึ่งเป็นเรื่องที่ถูกต้อง แต่ส่วนสูงแสดงถึงการเจริญเติบโตได้ดีกว่าน้ำหนัก เนื่องจากการเจริญเติบโตด้านส่วนสูงเป็นผลจากความสมดุลของการได้รับสารอาหารปริมาณมาก คือ พลังงานและโปรตีน ในขณะเดียวกันยังเกี่ยวข้องกับสารอาหารปริมาณน้อย คือ วิตามินและแร่ธาตุบางชนิด เช่น แคลเซียม สังกะสี ไอโอดีน วิตามินเอ เป็นต้น       ปัจจุบันนักเรียนส่วนใหญ่มีน้ำหนักมากกว่าปกติ ซึ่งถือได้ว่าเข้าสู่สภาวะโรคอ้วน มีผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน มีหลายสาเหตุที่ทำให้นักเรียนเป็นโรคอ้วนได้ สาเหตุแรกอาจมาจากกรรมพันธุ์ การออกกาลังกายน้อยเกินไป กินอาหารมากเกินไป กินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และเป็นอาหารที่ทำให้อ้วน นักเรียนบางคนมีสาเหตุมาจากปัจจัยทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น
      ภาวะพร่องโภชนาการและภาวะโภชนาการเกินเป็นปัญหาสำคัญอันดับ 4 ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาที่ควรแก้ไขโดยสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในปีงบประมาณ 2553 พบประชากรมีภาวะพร่องโภชนาการอย่างน้อย 280,000 ราย ขณะที่ภาวะโภชนาการเกินประมาณ 400,000 ราย ปี 2554 รายงานจากการสำรวจการรับประทานอาหารของคนไทยในระดับประเทศพบว่า นักเรียนและวัยรุ่นอายุ 3-18 ปี มีความชุกของภาวะน้ำหนักเกิน 7.6% และโรคอ้วน 9.0%
      จากการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านวังพา ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2563 ถึงปัจจุบัน พบว่ามีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 15.5 นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ(ผอม) จำนวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 4.5 และนักเรียนที่เตี้ย จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 7.00 ซึ่งเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะทีดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทางโรงเรียนบ้านวังพา จึงขอเสนออนุมัติ “โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
โรงเรียนบ้านวังพา” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน รู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตัวเอง
  2. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
  3. เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่างของการมีสุขภาพที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในวัยเด็ก
  3. แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 54
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(1)  นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพร่างกายที่ดี (2)  นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น (3)  นักเรียนรู้จักการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุขภาวะได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

วันที่ 1 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนอาหารเช้า สนับสนุนอาหารว่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารว่างเป็นประจำทุกวัน ปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 88.89

 

54 0

2. จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

วันที่ 14 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมวางแผนการดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้ปกครองเข้าใจนโยบายและการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

16 0

3. อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในวัยเด็ก

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในวัยเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้ปกครองและนักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี

 

54 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน รู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตัวเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนรู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตัวเอง
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ10 นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่างของการมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนเห็นความแตกต่างของการมีสุขภาพที่ดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 54
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน รู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตัวเอง (2) เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น (3) เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่างของการมีสุขภาพที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในวัยเด็ก (3) แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2564-L5275-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทรงพล อารมณ์เย็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด