กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรพินท์ พลาปิยะพันธ์

ชื่อโครงการ ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคในสถานประกอบการ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการบริหาร ของสถานประกอบการไม่น้อยไปกว่าโรคเอดส์ จากผลการสำรวจข้อมูล พบว่าผู้บริหารสถานประกอบการ เห็นความสำคัญของการแก้ปัญหาวัณโรคในสถานประกอบกิจการนั้นมีมากกว่าปัญหาโรคเอดส์ ซึ่งถ้าหากพนักงานและผู้บริหารมีความเข้าใจเรื่องวัณโรคอย่างไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดการเลือกปฏิบัติต่อพนักงานที่ป่วยหรือกดดันให้พนักงานเหล่านี้ออกจากงานทำให้โรงพยาบาลไม่สามารถติดตาม ให้การรักษาผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการแพร่ระบาดของวัณโรคในปัจจุบันและเป็นวัณโรคดื้อยาในที่สุด ด้วยเหตุนี้ การยุติปัญหาเอดส์และวัณโรคในสถานประกอบการอย่างยั่งยืน จึงจำเป็นต้องใช้วิธีการดำเนินงานแบบผสมผสานกันระหว่างการให้ความรู้ การส่งเสริมและสนับสนุนให้เข้าถึงบริการเชิงรุกโดยจัดให้บริการตรวจคัดกรอง ส่งต่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับความร่วมมือพัฒนาระบบการดำเนินงานควบคุมโรคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ โรงพยาบาลสะเดา ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา (บ้านสุขสันต์)และเทศบาลเมืองสะเดา ด้วยชุดบริการ RRTTR (Reach – Recruit – Test – Treat – Retain) ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา จึงขออนุมัติจัดทำโครงการฯ ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้การดำเนินงานด้านการยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ฯ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคและโรคเอดส์ในด้านการป้องกัน การดูแล การสนับสนุนช่วยเหลือและรักษา
  2. 2 เพื่อให้ประชากรวัยทำงานและแกนนำสุขภาพในสถานประกอบการ นำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตและไปขยายผลต่อครอบครัวและชุมชน
  3. 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานควบคุมโรควัณโรคและเอดส์เชิงรุกในสถานประกอบการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 300
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ มีระบบการการจัดการเรื่องวัณโรคและโรคเอดส์ได้ตามมาตรฐาน สอดคล้องกับแนวปฏิบัติวาระแห่งชาติ ภายใต้ความร่วมมือแบบภาคีเครือข่ายทำให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและเอดส์ ได้ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ และ ตรวจคัดกรองวัณโรค จำนวน 300 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคและโรคเอดส์ในด้านการป้องกัน การดูแล การสนับสนุนช่วยเหลือและรักษา
    ตัวชี้วัด : 1 พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและโรคเอดส์อย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมเสี่ยงลดลง มีทัศนะคติ ที่ดีต่อเพื่อนพนักงานที่ติดเชื้อและสามารถทำงานร่วมกันได้ 2 ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม ที่มีต่อภาพรวมของโครงการ ร้อยละ 80 3 จำนวนพนักงานกลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการได้รับการคัดกรอง อย่างน้อยร้อยละ 90

     

    2 2 เพื่อให้ประชากรวัยทำงานและแกนนำสุขภาพในสถานประกอบการ นำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตและไปขยายผลต่อครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานควบคุมโรควัณโรคและเอดส์เชิงรุกในสถานประกอบการ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 300
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคและโรคเอดส์ในด้านการป้องกัน การดูแล
    การสนับสนุนช่วยเหลือและรักษา (2) 2 เพื่อให้ประชากรวัยทำงานและแกนนำสุขภาพในสถานประกอบการ นำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตและไปขยายผลต่อครอบครัวและชุมชน (3) 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานควบคุมโรควัณโรคและเอดส์เชิงรุกในสถานประกอบการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7252-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรพินท์ พลาปิยะพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด