กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ”

จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นโรคของเนื้อเยื่อฟัน (ผิวเคลือบฟัน เนื้อฟันผิวรากฟัน) ซึ่งเกิดจากมีการทำลายแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อเยื่อเหล่านี้จนทำให้เกิดเป็นโพรงและสามารถลุกลามจนเกิดการสูญเสียฟันทั้งซี่วิทยาการในปัจจุบันทำให้ความเข้าใจในกระบวนการเกิดโรคฟันผุมากขึ้นซึ่งไม่ได้เป็นเพียงความสัมพันธ์ของปัจจัยหลัก๓ประการ ได้แก่ ตัวฟันเชื้อแบคทีเรียและน้ำตาลแต่ยังมีปัจจัยด้านความรู้ ทัศนคติพฤติกรรม ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยในสิ่งแวดล้อมอื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย โรคฟันผุยังเป็นโรคที่สำคัญที่พบได้ในเด็กปฐมวัย จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตอำเภอห้วยยอด เด็กช่วงอายุ 3 ปีถึง 3 ปี 11 เดือน ข้อมูลเปรียบเทียบร้อยละของเด็ก 3 ปีฟันน้ำนมผุ ในภาพรวมของจังหวัดตรังกับอำเภอห้วยยอด ข้อมูลเด็ก 3 ปีฟันผุของจังหวัดตรัง ในปี 2559 - 2561 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 44.7 , 43.09 และ 46.9 ตามลำดับ ส่วนของอำเภอห้วยยอด ในปี 2559 - 2561 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 45.3 , 45.8 และ 45.6 ตามลำดับ ในส่วนของตำบลลำภูราพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุเด็กช่วงอายุ 3 ปีถึง 3ปี 11 เดือนในปี 2559 - 2561 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 39.4 , 47.7 และ 66.67 ตามลำดับ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับจังหวัดยังมีอัตราปราศจากฟันผุที่สูงกว่าดังนั้นมาตรการในการป้องกันการเกิดโรคฟันผุจึงควรครอบคลุมถึงการให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้องการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธี การเคลือบหลุมร่องฟันที่ลึก การใช้สารประกอบฟลูออไรด์รูปแบบต่างๆในการป้องกันฟันผุฟลูออไรด์เป็นสารที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามีผลในการควบคุมโรคฟันผุได้โดยมีกลไกป้องกันฟันผุคือชะลอกระบวนการสลายของแร่ธาตุจากผิวฟันและส่งเสริมการเกิดกระบวนการคืนกลับของแร่ธาตุสู่ผิวฟัน ช่วยให้เคลือบฟันแข็งแรงและรบกวนเมตาบอลิซึมของแบคทีเรีย ปัจจุบันมีการแนะนำให้ใช้ฟลูออไรด์วานิชมาในการป้องกันโรคฟันผุสำหรับเด็กเล็กเนื่องจากมีความปลอดภัยสูงใช้ได้ผลดี มีคุณสมบัติยึดติดกับผิวเคลือบฟันได้นานสามารถปล่อยฟลูออไรด์ได้อย่างช้าๆ เสียเวลาในการทาน้อยซึ่งเหมาะสมกับเด็กเล็กที่ให้ความร่วมมือในการรักษาน้อยและยังทำให้ความเข้มข้นของฟลูออไรด์เพิ่มขึ้นในผิวเคลือบฟันมากกว่าฟลูออไรด์เฉพาะที่ตัวอื่นๆมีส่วนสำคัญที่ทำให้ฟันผุในระยะเริ่มต้นหยุดการลุกลามหรือกลับมาปกติได้ การดำเนินการส่งเสริมสุขภาพมีกิจกรรมที่จำเป็น คือการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เกื้อหนุนต่อการมีสุขภาพที่ดีการทำกิจกรรมให้ชุมชนเข้มแข็งการพัฒนาทักษะส่วนบุคคลรักษาแต่เพียงด้านเดียวในทางปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนั้นมีวิธีการดำเนินกิจกรรมได้หลายวิธีเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการดูแลสุขภาพของตนเองเช่นการให้สุขศึกษาเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค การส่งเสริมสุขภาพตามสถานที่ เป็นต้น การจัดกิจกรรมออกทาฟลูออไรด์วานิชนั้นถือได้ว่าเป็นการส่งเสริมสุขภาพตามสถานที่วิธีหนึ่งซึ่งให้ผลที่ทั้งการส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยได้ดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา เล็งเห็นความสำคัญของการเพิ่มอัตราปราศจากฟันผุในเด็กเล็กซึ่งจะนำไปสู่การมีทันตสุขภาพช่องปากที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา
  2. เพื่อลดการดำเนินการของฟันผุและนำไปสู่การมีฟันดีไม่มีฟันผุ Cavity Fee

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ
  2. กิจกรรมอุดฟันด้วยวิธี SMART technique

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การเกิดโรคฟันผุเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูราลดลง
  2. ลดการดำเนินการของฟันผุและนำไปสู่การมีฟันดีไม่มีฟันผุ Cavity Fee

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา
ตัวชี้วัด : ฟันผุลดลงจากเดิม ร้อยละ 30
0.00

 

2 เพื่อลดการดำเนินการของฟันผุและนำไปสู่การมีฟันดีไม่มีฟันผุ Cavity Fee
ตัวชี้วัด : เด็กฟันดีไม่ผุทั้งศุนย์ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา (2) เพื่อลดการดำเนินการของฟันผุและนำไปสู่การมีฟันดีไม่มีฟันผุ Cavity Fee

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ (2) กิจกรรมอุดฟันด้วยวิธี SMART technique

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด