กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
. กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคร่วมในชุมชน 8 ธ.ค. 2563 15 พ.ย. 2564

 

ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง ให้ทราบวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานตามโครงการฯ 2. สำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีความประสงค์ที่จะเข้าร่วมพร้อมให้การติดตามตลอดโครงการ 3. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินงาน 1. สำรวจ เตรียมเอกสารและเชิญกลุ่มเป้าหมาย 2. จัดกิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคร่วมในชุมชน   - การให้ความรู้และเทคนิคการดูแลตนเองของผู้ป่วย   - การทำข้อมูลผู้ป่วยเป็นรายชุมชน และรายเดือนเพื่อติดตามดูการเปลี่ยนแปลง 3. ติดตามดูแลควบคุมความดันโลหิตผู้สูงอายุในชุมชน 4. สรุปผลโครงการ

 

ดำเนินการจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 24 เครื่อง และมอบให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ไม่มีโรคร่วม ที่เข้าร่วมโครงการทั้ง 27 ชุมชน จำนวน 65 คน ใช้หมุนเวียน

 

กิจกรรมติดตามดูแลควบคุมความดันโลหิตผู้สูงอายุในชุมชน 8 ธ.ค. 2563 15 พ.ย. 2564

 

ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง ให้ทราบวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานตามโครงการฯ 2. สำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีความประสงค์ที่จะเข้าร่วมพร้อมให้การติดตามตลอดโครงการ 3. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินงาน 1. สำรวจ เตรียมเอกสารและเชิญกลุ่มเป้าหมาย 2. จัดกิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคร่วมในชุมชน   - การให้ความรู้และเทคนิคการดูแลตนเองของผู้ป่วย   - การทำข้อมูลผู้ป่วยเป็นรายชุมชน และรายเดือนเพื่อติดตามดูการเปลี่ยนแปลง 3. ติดตามดูแลควบคุมความดันโลหิตผู้สูงอายุในชุมชน 4. สรุปผลโครงการ

 

ดำเนินการติดตามการดูแลควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยและลดภาวะแทรกซ้อนและการเกิดโรคร่วม พบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคร่วมเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 65 คน ย้ายออกจากโครงการ 1 คน คงเหลือ 64 คน สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 79.7 ผู้ป่วยโรคความดันโรคโลหิตสูงที่ไม่มีโรคร่วมหลังจากการดูแลไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งสิ้น 64 คน  คิดเป็นร้อยละ 100