กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560 ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางธัญชนก พรมน้ำแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5192-3-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5192-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน และเป็นต้นทุนทางสังคมที่มีค่ามากที่สุด เด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ เป็นช่วงวัยที่มีการพัฒนาในทุก ๆ ด้านมากที่สุด การเลี้ยงดูและการจัดสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเจริญเติบโต และการเรียนรู้ด้านต่าง ๆของเด็กเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างมีคุณภาพย่อมเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและนำมาซึ่ง อนาคตที่ดีของประเทศชาติในที่สุด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปริก ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพในช่องปากและส่งเสริมสุขภาพที่ดีด้านโภชนาการให้แก่เด็กปฐมวัย จึงได้จัดโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดี ประจำปี 2560" ขึ้น เพื่อดูแลด้านสุขภาพในช่องปาก และด้านโภชนาการที่ดี การส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จะทำให้เด็กมีความพร้อมในการทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันหากเด็กมีปัญหาด้านสุขภาพช่องปากและด้าน โภชนาการต้องได้รับการดูแล เอาใจใส่ ช่วยเหลือทันที ดังนั้นงานด้านอนามัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงเห็นสิ่งจำเป็นที่ต้องดำเนินการ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่ดี มีชีวิตที่สดใส อันจะนำไปสู่การพัฒนาการในด้านต่างๆให้ดียิ่งขึ้นต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สะอาดและมีสุขภาพจิตที่ดี
  2. 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร
  3. 3. เพื่อให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนที่เจ็บป่วย ได้รับการดูแลช่วยเหลือ 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น 3. ร้อยละ 85 ของผู้เรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีแปรงฟันอย่างถูกวิธี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การจัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดี

    วันที่ 27 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพืื่อใช้ในการจัดอบรม 1.ค่าแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน ด้านละ 25 บาท จำนวน 100 ด้าน
    2.ค่าแก้วน้ำ ใบละ 20 บาท จำนวน 100 ใบ 3.ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ 

     

    100 52

    2. ประชุมเตรียมความพร้อม ชี้แจง แนวทางการดำเนินงาน และกิจกรรมการดูแลรักษาฟัน

    วันที่ 28 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ค่าอาหารกลางวัน คนละ 50 บาท จำนวน 200 คน
    2.ค่าอาหารว่าง คนละ 25 บาท จำนวน 200 คน
    3.ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ท่านๆละ 600 บาท  * 2 ชั่วโมง
    4.ค่าป้ายโครงการ (ไวนิล) ขนาด 200 250 ซม.จำนวน 1 ผืน ไวนิล ขนาด 50100 ซม. จำนวน 1 ผืน

     

    200 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การจัดโครงการให้ความรู้ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปริก ในกิจกรรมโครงการ "ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดี ประจำปี 2560 " ในครั้งนี้ มีผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 52 คน และเด็กนักเรียน 80 คน  ซึ่งเป็นเด็กนักเรียนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1-3 จากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ อยู่ในระดับดีมาก แสดงให้เห็นว่า ผู้ปกครองได้รับความรู้ในเรื่องของสุขภาพในช่องปาก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของฟัน วิธีการดูแลรักษาฟันโดยการแปรงฟันที่ถูกวิธีตลอดจนการเลือกลักษณะของแปรงสีฟันที่เหมาะสมกับช่องปากและการเลือกใช้ยาสีฟันที่มีคุณภาพ รวมถึงการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ ซึ่งสามารถทำให้มีสุขภาพในช่องปากที่ดีและอยากให้มีโครงการแบบจัด๘ึ้นในครั้งต่อๆไปเป็นการให้ความรู้กับเด็กและผู้ปกครองเพื่อให้เล็งเห็นถึงการจะมีสุขภาพที่ดี ร่างกายแข็งแรงปลอดภัยจากโรคต่างๆดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพช่องปากแก่เด็กก่อนวัยเรียนพร้อมกับสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี ในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆและผู้ปกครองนั้น เพื่อให้ตระหนักเห็นความสำคัญประโยชน์คุณค่า นั้นว่า เรื่องของสุขภาพในช่องปากเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ และสร้างจิตสำนึกปลูกฝังในเรื่องของพฤติกรรมการกินอาหาร โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียนจะได้มีสุขภาพในช่องปากอีกด้วย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สะอาดและมีสุขภาพจิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรงสะอาดและมีสุขภาพจิตที่ดี

     

    2 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้เรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร

     

    3 3. เพื่อให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 3. ผู้เรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

     

    4
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สะอาดและมีสุขภาพจิตที่ดี (2) 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร (3) 3. เพื่อให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (4)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ฟันสวยสุขภาพดีประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5192-3-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธัญชนก พรมน้ำแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด