กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชน เกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 3 แสนตันต่อปี ซึ่งถูกทิ้งรวมไปกับขยะมูลฝอยทั่วไป และนำไปกำจัดที่สถานกำจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นแหล่งรองรับขยะมูลฝอยทั่วไป สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยเหล่านี้ไม่ได้ออกแบบไว้เพื่อรองรับของเสียอันตราย ทำให้สารพิษจากเสียอันตรายปนเปื้อนสู่ดินและน้ำใต้ดิน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรงและทางอ้อม (ที่มา:กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) สารเคมีที่พบในขยะอันรายในปัจจุบันประกอบไปด้วย 1) สารปรอท พบใน หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดนีออน กระจกส่องหน้า 2) สารตะกั่ว พบใน แบตเตอรี่รถยนต์ ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช ตะกอนสีหมึกพิมพ์ ฯลฯ 3) สารแมงกานีส พบใน ถ่านไฟฉาย ตะกอนสีเครื่องเคลือบดินเผา 4) สารแคดเมียม พบใน ถ่านนาฬิกาควอตซ์ 5) สาฟอสฟอรัส พบใน ยาเบื่อหนู ตะกอนสี ฯลฯ 6) สารเคมีประเภทอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ที่พบ สเปรย์ ยาย้อมผม ยาทาเล็บ ยาล้างเล็บ ยาฆ่าแมลง ยารักษาโรค ยากำจัดวัชพืช สารเคมีเหล่านี้ล้วนแล้วก่อผลเสียต่อสุขภาพหากเกิดการปนเปื้อนมายังแหล่งสาธารณูปโภคในพื้นที่ รัฐบาลยุคปัจจุบัน (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) ได้มีนโยบายการจัดการขยะทั่วไป และการจัดการขยะอันตราย ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทยเป็นตัวขับเคลื่อนหลักเพื่อแก้ไขปัญหาขยะ โดยตั้งเป็นนโยบาย “จังหวัดสะอาด” มอบหมายมายังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ดำเนินการจัดการขยะอันตราย โดยต้องจัดให้มีจุดรับขยะอันตรายทุกชุมชน และมีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้น จึงจัดโครงการชุมชนร่วมใจ คัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักจากปัญหาขยะอันตรายจากชุมชน สามารถคัดแยก และรวบรวมขยะอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา มีจุดการคัดแยกขยะอันตรายประจำชุมชนทุกชุมชน และที่สำคัญเพื่อลดความเสี่ยงการปนเปื้อนของสารเคมีในขยะอันตรายสู่แหล่งสาธารณูปโภค ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักในการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะอันตรายจากชุมชน สามารถคัดแยก และรวบรวมขยะอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2) เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา มีจุดการคัดแยกขยะอันตรายประจำชุมชนทุกชุมชน
  3. 3) เพื่อลดความเสี่ยงการปนเปื้อนของสารเคมีในขยะอันตรายสู่แหล่งสาธารณูปโภค ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) มีผู้เข้าร่วมอบรมตามโครงการจากชุมชนทั้ง 19 ชมชน ไม่น้อยกว่า 100 คน 2) ชุมชนแต่ละชุมชน มีจุดรับขยะอันตรายทุกชุมชน
    3) มีฐานข้อมูลปริมาณขยะอันตรายของแต่ละชุมชน สะดวกต่อการนำไปใช้งาน และนำไปพัฒนาการดำเนินงานในอนาคต


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -กิจกรรมอบรม/ชี้แจงคณะกรรมการชุมชนทั้ง 19 ชุมชน เพื่อส่งเสริมความรู้ สร้างความตระหนักในการแก้ปัญหาขยะอันตรายจากต้นทาง และมอบหมายให้คณะกรรมการชุมชนนำหลักปฏิบัติไปประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้าใจร่วมกันของสมาชิกแต่ละชุมชน -กิจกรรมจัดตั้งศูนย์รับขยะอันตรายแต่ละชุมชน เพื่อรองรับขยะอันตรายจากครัวเรือนในชุมชนครบทั้ง 19 ชุมชน คิดเป็น 100 %

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักในการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะอันตรายจากชุมชน สามารถคัดแยก และรวบรวมขยะอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1) ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผู้ทำแบบทดสอบทั้งหมด 2) ชุมชนแต่ละชุมชน มีจุดรับขยะอันตรายทุกชุมชน คิดเป็นร้อยละ 100 3) มีการรวบรวมข้อมูลปริมาณขยะอันตรายจากชุมชนเป็นระบบ ง่ายต่อการสืบค้น และนำไปเป็นฐานข้อมูลเพื่อเป็นประโยชน์ในอนาคตได้

     

    2 2) เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา มีจุดการคัดแยกขยะอันตรายประจำชุมชนทุกชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3) เพื่อลดความเสี่ยงการปนเปื้อนของสารเคมีในขยะอันตรายสู่แหล่งสาธารณูปโภค ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักในการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะอันตรายจากชุมชน สามารถคัดแยก และรวบรวมขยะอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2) เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา มีจุดการคัดแยกขยะอันตรายประจำชุมชนทุกชุมชน (3) 3) เพื่อลดความเสี่ยงการปนเปื้อนของสารเคมีในขยะอันตรายสู่แหล่งสาธารณูปโภค ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชุมชนร่วมใจคัดแยกขยะอันตราย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7252-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด