กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลทุ่งลาน




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5169-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5169-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ และ คาดว่าประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ 20 ใน พ.ศ.2564 กลายเป็น “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society)
จาการสำรวจของกรมอนามัย (2556) พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 95 เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและพึ่งพิง และมีผู้ป่วยนอนติดเตียง ร้อยละ 1 นอกจากนั้น ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระดับสูง ไม่มีคนดูแลถึงร้อยละ 13 รัฐบาลจึงให้ความสำคัญในการดำเนินการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งกลุ่มที่ต้องให้ความสำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็คือ กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง เนื่องจากหากไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นทางสภาพร่างกายหรือจิตใจของทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล ซึ่งนอกเหนือจากการให้ความรู้ ให้กำลังใจและการเยี่ยมติดตามแล้ว เพื่อให้การดูแลมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยังต้องให้การสนับสนุนด้านอุปกรณ์การดูแลครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น เนื่องจากอุปกรณ์การดูแล ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ดังกล่าวมีราคาค่อนข้างสูง บางครอบครัวจึงไม่สามารถที่จะจัดซื้อได้ด้วยตนเอง การมีแหล่งสนับสนุนอุปกรณ์การดูแลครุภัณฑ์ทางการแพทย์เหล่านี้ จึงเป็นอีกหนึ่งภารกิจสำคัญในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยติดเตียงให้ดีขึ้นกว่าเดิม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)เป็นกำลังหลักและสามารถรู้ปัญหาสุขภาพคนในชุมชนได้ดี บทบาทหน้าที่ที่สำคัญคือให้บริการด้านสุขภาพในเชิงรุก จึงจำเป็นต้องมีความรู้ และทักษะในการให้คำแนะนำ ให้ความช่วยเหลือ ส่งต่อกลุ่มเป้าหมายในชุมชนอย่างถูกวิธี เช่น คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการในแต่ละกลุ่มวัยและโรคประจำตัวของผู้พิการ การทำกายภาพบำบัดที่ถูกวิธี การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และฟื้นฟูมสรรถที่บ้าน แกนนำสุภาพสามารถช่วยในการประเมินภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชน สามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวบุคคล เป็นกิจกรรมที่สำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการกำเริบของโรคเพิ่มขึ้น งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาล เทศบาลตำบลทุ่งลาน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ สร้างขวัญกำลังใจในการดำเนินชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และส่งเสริมความรู้ และพัฒนาทักษะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ให้มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพ
  2. เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตาม ให้คำแนะนำด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ในการดูแลปัญหาด้านสาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุข ในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)
  2. กิจกรรมกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)
  3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีขวัญและกำลังใจ ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและมีชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุข ในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)

วันที่ 2 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
2 จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
3 ประชุมชี้แจงคณะทำงานเพื่อปรึกษากำหนดแผนในการปฏิบัติงาน
4 จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการลงเยี่ยมบ้านให้เพียงพอ 5 ประชาสัมพันธ์โครงการ / แผนการออกปฏิบัติงานของหน่วยบริการและแจ้งกลุ่มเป้าหมาย
6 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
7 ลงพื้นที่บริการเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตาม รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 8 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตที่เกิดขึ้น 1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)                    มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) อย่างทั่วถึง 3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีขวัญและกำลังใจ ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและมีชีวิตที่ดีขึ้น

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 100 2 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) อย่างทั่วถึง ร้อยละ 100

 

0 0

2. กิจกรรมกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)

วันที่ 2 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
2 จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
3 ประชุมชี้แจงคณะทำงานเพื่อปรึกษากำหนดแผนในการปฏิบัติงาน
4 จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการลงเยี่ยมบ้านให้เพียงพอ 5 ประชาสัมพันธ์โครงการ / แผนการออกปฏิบัติงานของหน่วยบริการและแจ้งกลุ่มเป้าหมาย
6 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
7 ลงพื้นที่บริการเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตาม รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 8 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตที่เกิดขึ้น 1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)                    มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) อย่างทั่วถึง 3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีขวัญและกำลังใจ ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและมีชีวิตที่ดีขึ้น

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 100 2 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) อย่างทั่วถึง ร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ให้มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตาม ให้คำแนะนำด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพ และดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)
0.00

 

3 เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ในการดูแลปัญหาด้านสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีขวัญและกำลังใจ ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและมีชีวิตที่ดีขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ให้มีความรู้ความสามารถและเข้าใจบทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพ (2) เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตาม ให้คำแนะนำด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (3) เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) ในการดูแลปัญหาด้านสาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุข ในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.) (2) กิจกรรมกายภาพบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น (อสบ.)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5169-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด