กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ ”

ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เด็กหญิงธมลวรรณ เรืองรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์

ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3356-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2560 ถึง 8 ตุลาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3356-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2560 - 8 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้จักรยานส่งผลดีต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพราะการขี่จักรยานเป็นการเอื้อต่อการปรับสภาพจิตใจให้รับรายละเอียดและสุนทรียภาพ จำนวนการใช้จักรยานในชุมชนยังบ่งบอกถึงคุณภาพของสังคมที่เคารพสิทธิของทางเลือกที่หลากหลาย ให้คนเดินเท้า คนปั่นจักรยาน มอเตอร์ไซด์ รถยนต์ สามารถแบ่งปันพื้นที่อยู่ร่วมกันได้ ด้วยเหตุผลทางสิ่งแวดล้อม สังคม และความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ จักรยานจึงถูกหยิบยกให้เป็นสัญลักษณ์ของเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ได้ดำเนินงานโครงการมาระยะหนึ่ง โดยมีศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลนาท่อม เป็นคณะทำงานของโครงการ มีกิจกรรมรณรงค์ให้คนหันมาใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน การปั่นเพื่อการออกกำลังกาย การไปทำภารกิจในระยะทางอันใกล้และได้พัฒนามาสู่ชุมชนจักรยานเพื่อสุขภาวะมีการรณรงค์ส่งเสริมการใช้เส้นทางจักรยาน ป้ายเตือนต่างๆ ทำให้มีการใช้จักรยานเพิ่มขึ้นในระดับหนึ่ง เพื่อให้การส่งเสริมการใช้จักรยานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และให้เด็กเยาวชนได้มีบทบาทในการรับผิดชอบโครงการเข้าใจการทำงานร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม ในการนี้สภาเด็กและเยาวชนตำบลนาท่อม จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ต่อเนื่อง เพื่อสานต่อให้กิจกรรมรณรงค์การใช้จักรยานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์การใช้จักรยานในชีวิตประจำวันและการออกกำลังกาย
  2. เพื่อใช้จักรยานในกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กเยาวชนมีบทบาทในกิจกรรมสร้างสรรค์ของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีผู้ใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน เพิ่มขึ้น
    2. เด็กเยาวชน ได้เรียนรู้ชุมชน ได้ใช้เวลาสัมพันธ์กับครอบครัวชุมชนมากขึ้น
    3. เด็กเยาวชนมีบทบาทในชุมชน ในการพัฒนาและเป็นผู้นำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปั่นจักรยานเช้าวันอาทิตย์ในตำบลนาท่อม

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การใช้จักรยานส่งผลดีต่อสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ เพราะการขี่จักรยานเป็นการเอื้อต่อการปรับสภาพจิตใจให้รับรายละเอียดและสุนทรียภาพ จำนวนการใช้จักรยานในชุมชนยังบ่งบอกถึงคุณภาพของสังคมที่เคารพสิทธิของทางเลือกที่หลากหลายให้คนเดินเท้า คนปั่นจักรยาน มอเตอร์ไซด์ รถยนต์ สามารถแบ่งปันพื้นที่อยู่ร่วมกันได้ ด้วยเหตุผลทางสิ่งแวดล้อม สังคม ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ จักรยานจึงถูกหยิบยกมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลนาท่อม ได้ดำเนินการต่อเนื่องมา โดยมีศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลนาท่อมเป็นคณะทำงาน มีกิจกรรมรณรงค์ให้คนหันมาใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน การปั่นเพื่อการออกกำลังกาย การไปทำภารกิจระยะทางใกล้ และได้พัฒนามาสู่ชุมชนจักรยานเพื่อสุขภาวะ มีการรณรงค์ส่งเสริมการใช้เส้นทางจักรยาน ป้ายเตือนต่างๆ ทำให้มีการใช้จักรยานเพิ่มขึ้นในระดับหนึ่ง สามารถนำไปสู่การเพิ่มจำนวนการใช้จักรยานเพื่อการออกกำลังกาย ไปทำภารกิจเพิ่มประจำวันเพิ่มขึ้น และสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลนาท่อมเข้าใจบทบาทหน้าที่ สามารถต่อยอดกิจกรรม เช่น สร้างสรรค์ในชุมชนจากโครงการจักรยาน เช่น กิจกรรมทำแผนที่เส้นทางปั่นจักรยาน กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน 

     

    15 15

    2. ครอบครัวจักรยานแรลลี่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

    วันที่ 23 กันยายน 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมจักรยานแรลลี่สุขภาพ เป็นการปั่นจักรยานทำกิจกรรมฐานเรียนรู้ 6 ฐานกิจกรรม ทำให้เด็กๆในชุมชนรู้จักแหล่งเรียนรู้ ผู้นำภูมิปัญญาทางด้านต่างๆในชุมชน ตามฐานการเรียนรู้ คือ 1.บ้านผึ้ง บ้านของนางบุญเรือง แสงจันทร์ ได้เรียนรู้เรื่องการเลี้ยงผึ้ง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้ง เช่น สบู่ ขนมกล้วยฉาบ 2.เย็บจากสาคู บ้านนางคลี่ ภัยภาค ได้เรียนรู้ประโยชน์ของป่าสาคู การอนุรักษ์ป่าสาคู ฝึกการเย็บตับจาก 3.การปลูกผักสวนครัว ได้เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ 4.การทำอาหารพื้นบ้าน 5.ประวัติชุมชน เรียนรู้ประวัติวัดหนองปราง ทวดตาลก 6.เส้นทางปั่นจักรยานปลอดภัยภายในตำบล 

     

    40 40

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมปั่นจักรยานเช้าวันอาทิตย์ จำนวน 15 ครั้ง เป้าหมายครั้งละ 15 คน -ปั่นจักรยานในวันอาทิตย์ วันที่ 2,9,16,23,30 กรกฎาคม 2560 วันที่ 6,13,20,27 สิงหาคม 2560 วันที่ 3,10,17,24 กันยายน 2560 วันที่ 1,8 ตุลาคม 2560 รวม 15 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมปั่นครั้งละ 20 คนโดยเฉลี่ย โดยจุดเริ่มต้นจากสะพานหูยาน ไปยังสถานที่ต่างๆในตำบล เช่น วัดหนองปราง วัดโคกแย้ม ทุ่งนาทุ่งตาลก และพื้นที่ต่างตำบล เช่น ตำบลท่ามิหรำ ตำบลร่มเมือง ตำบลท่าแค

    กิจกรรมจักรยานแรลลี่สุขภาพ เป็นการปั่นจักรยานทำกิจกรรมฐานเรียนรู้ 6 ฐานกิจกรรม ทำให้เด็กๆในชุมชนรู้จักแหล่งเรียนรู้ ผู้นำภูมิปัญญาทางด้านต่างๆในชุมชน ตามฐานการเรียนรู้ คือ 1.บ้านผึ้ง บ้านของนางบุญเรือง แสงจันทร์ ได้เรียนรู้เรื่องการเลี้ยงผึ้ง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้ง เช่น สบู่ ขนมกล้วยฉาบ 2.เย็บจากสาคู บ้านนางคลี่ ภัยภาค ได้เรียนรู้ประโยชน์ของป่าสาคู การอนุรักษ์ป่าสาคู ฝึกการเย็บตับจาก 3.การปลูกผักสวนครัว ได้เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ 4.การทำอาหารพื้นบ้าน 5.ประวัติชุมชน เรียนรู้ประวัติวัดหนองปราง ทวดตาลก 6.เส้นทางปั่นจักรยานปลอดภัยภายในตำบล 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์การใช้จักรยานในชีวิตประจำวันและการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : 1. มีผู้มาร่วมปั่นจักรยานในวันอาทิตย์เพิ่มขึ้นจากกลุ่มเป้าหมายเดิม 2. มีผู้ใช้จักรยานในชีวิตประจำวันการออกกำลังกาย ทำภารกิจระยะทางใกล้เพิ่มขึ้น

     

    2 เพื่อใช้จักรยานในกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : รู้จักเส้นทางจักรยานไปยัง แหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพ

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กเยาวชนมีบทบาทในกิจกรรมสร้างสรรค์ของชุมชน
    ตัวชี้วัด : สภาเด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการ/กิจกรรมสร้างสรรค์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์การใช้จักรยานในชีวิตประจำวันและการออกกำลังกาย (2) เพื่อใช้จักรยานในกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กเยาวชนมีบทบาทในกิจกรรมสร้างสรรค์ของชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3356-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เด็กหญิงธมลวรรณ เรืองรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด