กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 ”
อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายภูรณ โต๊ะประดู่




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L640101 เลขที่ข้อตกลง 5/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L640101 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้นั้นจะส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของร่างกายตามมาในหลายระบบ อาทิเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ไตวาย เบาหวานขึ้นจอตา แผลที่เท้า เป็นต้น จากรายงานระบบโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดสตูล ปี 2563 พบว่าสถานการณ์โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในเขตตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง มีผู้ป่วยเบาหวานในความรับผิดชอบ จำนวน416 ราย ความดันโลหิตสูง 950 รายผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 147 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.33
ทางไตและคัดกรองภาวะเสี่ยง CVD Risk โรคหัวใจ จำนวน 369 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.47 คัดกรองทางเท้า จำนวน 102 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.56 จากการคัดกรองพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 3.39 ทางเท้าร้อย0.60 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดหัวใจร้อยละ 0.13หลอดเลือดสมองร้อยละ 6.70
ทางไตระยะ 3-5 ร้อยละ 20.15ซึ่งภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวสามารถป้องกันมิให้เกิดความรุนแรงเพิ่มขึ้นได้หากมีคัดกรองและเข้าถึงบริการมากขึ้นและได้รับการรักษาส่งต่อทันถ่วงที มีประสิทธิภาพ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาของผู้ป่วยในทุกๆปียังไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก ด้านผู้ป่วย 1.ผู้ป่วยเบาหวานขาดความรู้ในการดูแลป้องกันตนเอง2.ผู้ป่วยมารับบริการน้อยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุอาศัยอยู่ลำพัง ด้านบุคลากร 1. ขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการตรวจจอประสาทตา ด้านอุปกรณ์ 1.อุปกรณ์ในการตรวจไม่เพียงพอต้องมีการขอรับสนับสนุนจากโรงพยาบาลจังหวัดและมีการจองคิวล่วงหน้าเพราะใช้ทุกอำเภอในจังหวัด 2.ระยะเวลาที่ได้เครื่องมาตรวจน้อยและต้องไปตรวจที่โรงพยาบาลชุมชนในวันคลินิกเท่านั้น เพื่อให้ผู้ป่วยมีโอกาสเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นเน้นการปรับระบบการคัดกรอง,การเจาะเลือดประจำปี ,คัดกรองตา,ไต เท้า ช่องปากและฟัน โดยนำทีมสหวิชาชีพลงไปในพื้นที่ รพสต. และเพิ่มจำนวนวันในการตรวจคัดกรองและจัดหาอุปกรณ์สนับสนุนเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการคัดกรอง ดูแลและรักษาภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวอย่างเหมาะสม จะทำให้ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงลงได้ ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขอำเภอมะนัง จึงได้จัดโครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564
เพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อน การติดตามดูแลรักษา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนต่อไปสถานการณ์โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในเขตตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนังมีผู้ป่วยเบาหวานในความรับผิดชอบ จำนวน416 ราย ความดันโลหิตสูง 950 รายผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 147 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.33 ทางไตและคัดกรองภาวะเสี่ยง CVD Risk โรคหัวใจ จำนวน 369 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.47 คัดกรองทางเท้า จำนวน 102 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.56 จากการคัดกรองพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 3.39 ทางเท้าร้อย0.60 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดหัวใจร้อยละ0.13หลอดเลือดสมองร้อยละ 6.70 ทางไตระยะ 3-5 ร้อยละ 20.15

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตา ไต หัวใจ เท้าที่ถูกต้อง และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ (ร้อยละ)
  2. เพื่อลดอัตราผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ได้อย่างครอบคลุม(ร้อยละ)
  3. เพื่อเพิ่มอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ครั้งที่ 1 รพ.สต.บ้านมะนัง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ครั้งที่ 2 รพ.สต.ปาล์มพัฒนา
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ครั้งที่ 3 รพ.มะนัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยได้รับความรู้และเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาเพิ่มมากขึ้น สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี และได้รับการรักษาและส่งต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตา ไต หัวใจ เท้าที่ถูกต้อง และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ (ร้อยละ)
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
90.00 80.00

 

2 เพื่อลดอัตราผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ได้อย่างครอบคลุม(ร้อยละ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า
90.00 60.00

 

3 เพื่อเพิ่มอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : เพิ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตา ไต หัวใจ เท้าที่ถูกต้อง และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ (ร้อยละ) (2) เพื่อลดอัตราผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ได้อย่างครอบคลุม(ร้อยละ) (3) เพื่อเพิ่มอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ครั้งที่ 1 รพ.สต.บ้านมะนัง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย  ครั้งที่ 2 รพ.สต.ปาล์มพัฒนา (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมทั้งตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ครั้งที่ 3 รพ.มะนัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เครือข่ายสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L640101

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภูรณ โต๊ะประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด