กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ .โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔ ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายดิง ยาบี

ชื่อโครงการ .โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3031-12-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

".โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
.โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " .โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3031-12-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนต่อวัน ใน พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 27.37 ล้านตัน หรือ 74,998 ตันต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2559 ร้อยละ 1.15 ที่มีปริมาณเกิดขึ้น 27.06 ล้านตัน เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวของชุมชนเมือง ในขณะที่ อัตราการเกิดขยะมูลฝอยต่อคน ประมาณ 1.13 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ลดลงจาก พ.ศ. 2559 ซึ่งมีปริมาณ 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ทั้งนี้ เป็นขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ประมาณ 4.86 ล้านตัน คิดเป็น ร้อยละ 18 และในพื้นที่ 76 จังหวัด ประมาณ 22.51 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 82 เมื่อพิจารณาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551-2560) พบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นต่อวันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,2561:ออนไลน์) สำหรับสถานการณ์ขยะของตำบลเมาะมาวี จะเกิดขยะเฉลี่ย 0.3 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน และมีการจัดเก็บประมาณ 69 ตันต่อเดือน โดยเก็บค่าใช้จ่ายการกำจัดขยะครัวเรือนละ 10 บาทต่อเดือน ซึ่งน้อยกว่าต้นทุนที่จัดเก็บจริงที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 80,000 บาทต่อเดือน จากการสังเกตพบว่าขยะส่วนใหญ่ประกอบด้วยถุงพลาสติก เศษผ้าออมสำเร็จรูปที่ปนเปื้อนประมาณร้อยละ 40 เศษพืชผัก อาหารจากครัวเรือน ขยะอินทรีย์อื่นๆ ร้อยละ 30 ขยะรีไซเคิลได้ร้อยละ 20 และขยะอื่นๆ
ซึ่งขยะเป็นแหล่งเพาะโรคต่าง ๆ มากมายและเป็นแหล่งการแพร่ของเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ โรคในระบบทางเดินอาหาร โรคในระบบผิวหนังฯลฯ จะเห็นได้ขยะเป็นตัวบั่นทอนอายุของประชาชนให้สั้นลงได้ แต่ขยะบางประเภทก็มีประโยชน์หากมีวิธีการนำกลับมาใช้จะได้คุณค่าอย่างแท้จริง การกำจัดขยะไม่ว่าโดยวิธีใดย่อมมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่มากก็น้อยทั้งในระยะสั้นและระยะยาวโดยเฉพาะในบ้านเรา ไม่ได้มีการแยกขยะอันตรายที่มีสารเคมีและโลหะหนักออกไปกำจัดให้ถูกต้อง ก็ยิ่งน่าเป็นห่วงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ซึ่งการหาวิธีกำจัดขยะในรูปแบบต่าง ๆ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ การกำจัดขยะให้ได้ผลต้องแก้ที่ต้นเหตุ คือ“คน” ซึ่งเป็นผู้ก่อให้เกิดขยะโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการผลิตขยะโดยขาดสำนึกรับผิดชอบ ไปสู่การสร้างตระหนักและรับผิดชอบขยะที่ตนเองผลิตให้ลดลง ทิ้งเท่าที่จำเป็นและร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ
ประกอบกับรัฐบาลโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้กำหนดนโยบายและแผนงานโดยถือเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะโดยเน้นการจัดการขยะจากต้นทาง นั่นคือจากประชาชนผู้ทิ้งขยะ จึงจำเป็นต้องดำเนินการโครงการนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อันมหาศาลต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและในชุมชน
  2. 2. เพื่อประหยัดงบประมาณในการกำจัด
  3. 3. เพื่อนำวัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่
  4. 4. เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน
  5. . เพื่อช่วยให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายรู้วิธีการลดขยะภายในโรงเรียนและแหล่งชุมชนใกล้เคียง   2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากขยะและผลกระทบของขยะต่อ สิ่งแวดล้อม     3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการแยกขยะประเภทต่างๆ
          4. กลุ่มเป้าหมายมีการนำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ รีไซเคิลใหม่
          5. กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่น (กลุ่มเป้าหมายประชาชนในชุมชน จำนวน 100 คน)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อประหยัดงบประมาณในการกำจัด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อนำวัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 4. เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 . เพื่อช่วยให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและในชุมชน (2) 2. เพื่อประหยัดงบประมาณในการกำจัด (3) 3. เพื่อนำวัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (4) 4. เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน (5) . เพื่อช่วยให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    .โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี ๒๕๖๔ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L3031-12-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดิง ยาบี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด