กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ


“ โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564 ”

ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสอฟียะห์ ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 40873034

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2564 ถึง 6 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มีนาคม 2564 - 6 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 20 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน พบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและแบบแผนการดำเนินชีวิตส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วย ทั้งด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ และป้องกันไม่ได้ รวมทั้งโรคพื้นฐานที่ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้โรคบางอย่างเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึ่งประสงค์เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ขาดการจัดการความเครียด จากการสำรวจชุมชนพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ มีปัญหาการออกกำลังกาย และขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง ซึ่งส่งผลต่อภาวะสุขภาพของประชาชน จากผลการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขของอำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานีปัจจุบัน พบว่าโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญลำดับต้นที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน จากการสำรวจข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลปี ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๓,๙๖๔ คน จากจำนวนประชากร ๔๐,๖๙๕ คิดเป็นร้อยละ ๙.๗๔ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๑,๕๘๐คน จากจำนวนประชากร ๔๐,๖๙๕ คิดเป็นร้อยละ ๓.๘๘ อัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ปี ๒๕๖๓ เท่ากับ ๓๑๖.๕๕ และอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เท่ากับ ๖๒๖.๗๓ จากผลการคัดกรองความเสี่ยงประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีปัจจัยเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๙๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๑๔ มีปัจจัยเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคเบาหวาน จำนวน ๑๙๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๒๘ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปี ๒๕๖๓ เท่ากับ ร้อยละ ๑๒.๕๙(เกณฑ์ ≥ ร้อยละ ๔๐) และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี ๒๕๖๓ เท่ากับ ๒๖.๖๖ (เกณฑ์ ≥ ร้อยละ ๕๐) สาเหตุสำคัญคือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องและการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม. ยังขาดความต่อเนื่องในการให้การบริการในเชิงรุกลงไปถึงระดับ ครอบครัวชุมชน ทำให้การแก้ปัญหาได้แค่ระดับหนึ่ง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องคิด และใช้วิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ อีกทั้ง ในปีที่ผ่านมาการดำเนินงาน NCD คปสอ.ปะนาเระ ยังไม่ผ่านการประเมิน NCD Clinic Plus ระดับดี ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ จากสภาพปัญหาดังกล่าว คณะทำงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอำเภอปะนาเระได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการปรับได้ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรังเบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โดยเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานของตนเอง โดยการดำเนินงานกิจกรรมต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาของปัจเจกบุคคล ครอบครัว ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อให้มีการเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตมีความรู้ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง มีความห่วงใยต่อสุขภาพ ครอบครัว และชุมชน อย่างถาวร ส่งผลให้ทั้งกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและประชาชนมีสุขภาพที่ดี มุ่งให้เกิดการพึ่งตนเองทางสุขภาพเป็นสำคัญ อีกทั้งยังเห็นความสำคัญของการขับเคลื่อนการดำเนินงาน NCD คปสอ.ปะนาเระ ให้ผ่านการประเมิน NCD Clinic Plus ระดับดี เพื่อให้การแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังในระดับอำเภอประสบผลสำเร็จ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
  6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
  7. เพื่อสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3อ 2ส ทั้งในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและมีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
    2. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
    3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
    4. ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการรักษาและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางเท้า และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติ เผยแพร่และสืบทอดต่อเนื่องได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

7 เพื่อสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (5) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (6) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (7) เพื่อสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก  3อ 2ส ทั้งในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและมีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับ เปลี่ยนได้ ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูงควบคุมได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสอฟียะห์ ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด