โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ”
ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางถาวรมาศ เมืองจันทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5282-03-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สืบเนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ได้ดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลควนกาหลง ในการดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Techinique ประจำปีการศึกษา 2561 เป็นปีแรก และผลการตรวจฟันเด็กส่วนใหญ่
ยังมีฟันผุลุกลามที่จำเป็นต้องทำการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถอุดโดยวิธี Smart ได้ จำเป็นต้องได้รับการรักษาในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลใกล้บ้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการป้องกันการผุลุกลามของฟัน เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญได้เข้าถึงบริการทันตกรรม ได้รับป้องกันการผุลุกลาม และมีอัตราการผุของฟันลดลงอย่างต่อเนื่อง กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง จึงได้ประสานความร่วมมือ เพื่อดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีการศึกษา 2563 ขึ้น เพื่อมิให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะการผุของฟันลุกลามจนทำให้เกิดเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ และสุขภาพช่องปากของเด็ก โดยการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดขึ้นเป็นปีที่สาม และจะดำเนินการเสนอโครงการต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
สำหรับการบูรณะฟันในเด็กปฐมวัย จะใช้เทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ โดยทันตบุคลากรไม่ต้องได้รับการฝึกฝนมากนัก เป็นลักษณะของการให้บริการทันตกรรม
เชิงรุกสามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคดังกล่าวนี้ ได้มีการพัฒนาวัสดุ
ทางทันตกรรมที่ชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดีมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมาก็มีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุม
การเกิดฟันผุหรือป้องการเกิดฟันผุซ้ำ ซึ่งเรียกว่า วิธีอุดฟันอย่างง่าย SMART (Simplified Modified Atraumatic Restoration Technique)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
- เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
- กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
210
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุจะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุจะมีสุขภาพช่องปากที่ดี ขึ้นไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
วันที่ 9 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
มีการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินกิจกรรมของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล้กบ้านผัง 120 มีจำนวน 43 คน เด็กที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 37.21
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart children ประจำปีการศึกาา 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน หยุดการลุกลามของภาวะฟันผุในเด็กปฐมวัย และให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ แต่ในการดำเนินการในปีนี้ สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้เพียง 1 แห่งเท่านั้น คือศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านผัง 120 โดยการดำเนินการในวันที่ 9 เมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงทำให้เป็นเหตุต้องงดกิจกรรมตรวจฟัน อุดฟัน เคลือบหลุมร่องฟันน้ำนม ผลการดำเนินกิจกรรมของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 120 มีจำนวนเด็กปฐมวัยทั้งสิ้น 43 คน จำนวนเด้กที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 16 คน (คิดเป็นร้อยละ 37.21)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟันได้รับบริการทางทันตกรรม
0.00
2
เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ได้รับบริการอุดฟันเพื่อยับยั้งการลุกลาม
0.00
3
เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีมีพัฒนาการเป็นไปตามช่วงอายุ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
210
43
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
210
43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5282-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางถาวรมาศ เมืองจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ”
ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางถาวรมาศ เมืองจันทร์
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5282-03-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สืบเนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ได้ดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลควนกาหลง ในการดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Techinique ประจำปีการศึกษา 2561 เป็นปีแรก และผลการตรวจฟันเด็กส่วนใหญ่ ยังมีฟันผุลุกลามที่จำเป็นต้องทำการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถอุดโดยวิธี Smart ได้ จำเป็นต้องได้รับการรักษาในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลใกล้บ้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการป้องกันการผุลุกลามของฟัน เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญได้เข้าถึงบริการทันตกรรม ได้รับป้องกันการผุลุกลาม และมีอัตราการผุของฟันลดลงอย่างต่อเนื่อง กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง จึงได้ประสานความร่วมมือ เพื่อดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีการศึกษา 2563 ขึ้น เพื่อมิให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะการผุของฟันลุกลามจนทำให้เกิดเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ และสุขภาพช่องปากของเด็ก โดยการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดขึ้นเป็นปีที่สาม และจะดำเนินการเสนอโครงการต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี สำหรับการบูรณะฟันในเด็กปฐมวัย จะใช้เทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ โดยทันตบุคลากรไม่ต้องได้รับการฝึกฝนมากนัก เป็นลักษณะของการให้บริการทันตกรรม เชิงรุกสามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคดังกล่าวนี้ ได้มีการพัฒนาวัสดุ ทางทันตกรรมที่ชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดีมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมาก็มีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุม การเกิดฟันผุหรือป้องการเกิดฟันผุซ้ำ ซึ่งเรียกว่า วิธีอุดฟันอย่างง่าย SMART (Simplified Modified Atraumatic Restoration Technique)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
- เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
- กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 210 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุจะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุจะมีสุขภาพช่องปากที่ดี ขึ้นไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย |
||
วันที่ 9 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำมีการตรวจสุขภาพช่องปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินกิจกรรมของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล้กบ้านผัง 120 มีจำนวน 43 คน เด็กที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 37.21
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart children ประจำปีการศึกาา 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน หยุดการลุกลามของภาวะฟันผุในเด็กปฐมวัย และให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ แต่ในการดำเนินการในปีนี้ สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้เพียง 1 แห่งเท่านั้น คือศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านผัง 120 โดยการดำเนินการในวันที่ 9 เมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงทำให้เป็นเหตุต้องงดกิจกรรมตรวจฟัน อุดฟัน เคลือบหลุมร่องฟันน้ำนม ผลการดำเนินกิจกรรมของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 120 มีจำนวนเด็กปฐมวัยทั้งสิ้น 43 คน จำนวนเด้กที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 16 คน (คิดเป็นร้อยละ 37.21)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟันได้รับบริการทางทันตกรรม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ได้รับบริการอุดฟันเพื่อยับยั้งการลุกลาม |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีมีพัฒนาการเป็นไปตามช่วงอายุ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 210 | 43 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 210 | 43 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการทันตกรรมเชิงรุก "Smart Children " ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5282-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางถาวรมาศ เมืองจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......