กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ "ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง"
รหัสโครงการ 64-L2295-1-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ
วันที่อนุมัติ 3 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 18,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดารณี จันทร์อ่อน
พี่เลี้ยงโครงการ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.839,101.521place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
12.63

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สมารถควบคุมได้ เช่นกรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกกำลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็น ต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น จากผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ตำบลบ้านกลาง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จำนวนราย ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวานจำนวน ๑๕๙ ราย และความดันโลหิตสูง จำนวน ๘๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๓๑ และ ๑๒.๖๓ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชากร อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีจำนวนค่อนข้างมากและเป็นปัญหาสำคัญในขณะนี้       ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้ง สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยโรค เบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

100

1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

12.63
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

13 ก.ย. 64 จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโดยสาธิตการใช้นวัตกรรมราวกะลาและอุปกรณ์ที่ทำจากกะลาและอุปกรณ์ที่ทำจากกะลา 60.00 18,550.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโดยสาธิตการใช้นวัตกรรมราวกะลาและอุปกรณ์ที่ทำจากกะลาและอุปกรณ์ที่ทำจากกะลา 3.นัดประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเพื่อตรวจสุขภาพครั้งที่ 2 เพื่อประเมินภาวะสุขภาพ
4.สรุปผลการคัดกรองสุขภาพในประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงและกลุ่มป่วย 5.ส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพ 6.ติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
7.สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง
  2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 2563 09:35 น.