กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ "ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย"
รหัสโครงการ 64-L2295-1-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ
วันที่อนุมัติ 3 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 16,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดารณี จันทร์อ่อน
พี่เลี้ยงโครงการ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.839,101.521place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 21 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 39 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน และมีคุณภาพสมบูรณ์แข็งแรง ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญและเด่นชัด คือ การมาฝากครรภ์ช้า (อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์) มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ มารดาตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี และมารดาหลังคลอดไม่มีความรู้ด้านการวางแผนครอบครัวจากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ปีงบประมาณ 256๓ พบว่าผลการดำเนินงานยังผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ๘6.12 หากหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้ากว่า 12 สัปดาห์จะส่งผลกระทบทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกำหนด คลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม พัฒนาการล่าช้าพิการแต่กำเนิด ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาในระยะยาวและต่อเนื่อง แนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าวคือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย6 เดือน ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางรพ.สต.บ้านศาลาหยุดพระ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนา คุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดฝึกอบรมเชิงโครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยขึ้น เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม 2.เพื่อให้ทารกมีสุขภาพแข็งแรงจากมารดาที่มีความพร้อม

หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีการเตรียมตัวการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ และการปฏิบัติตัวหลังคลอด การปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองและทารก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และอาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 60 16,650.00 1 16,650.00
16 ก.ย. 64 จัดประชุมให้ความรู้เรื่องการเตรียมตัวการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ และการปฏิบัติตัวหลังคลอด การปฏิบัติตัวในการ 60 16,650.00 16,650.00

1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องการเตรียมตัวการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ และการปฏิบัติตัวหลังคลอด การปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองและทารก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และอาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์ 3.ออกติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ และเยี่ยมมารดาหลังคลอด 4.มอบชุดดูแลสุขภาพให้กับหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์เร็วก่อน 12 สัปดาห์ และรับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
5.ขั้นสรุปโครงการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 6.สรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ 5 ครั้งครบตามเกณฑ์ 3.มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมนมแม่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 2563 10:09 น.