กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ddd

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3065-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3065-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแรงงานนอกระบบของประเทศไทย พ.ศ.2555 – 2559 ที่มีพันธกิจ เพื่อผลักดันให้เกิดการขยายความคุ้มครองสู่แรงงานนอกระบบครอบคุลมทุกกลุ่มอาชีพอย่างเท่าเทียมกัน ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาสมรรถภาพและขยายโอกาสการมีงานทำเสริมสร้างแนวทางการเข้าถึงแหล่งงานและความยั่งยืนของอาชีพให้กับแรงงานนอกระบบ ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย พัฒนาส่งเสริม สนับสนุน สุขภาพความปลอดภัยในที่ทำงาน นอกจากนี้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ พ.ศ.2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ดำเนินการเกี่ยวกับการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการพยาบาลอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าวล้วนเป็นภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐาน หรือการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน เพื่อการป้องกันโรคติดต่อและส่งเสริมการอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ ขอบเขตการดำเนินกิจกรรมบริหารจัดการงานสาธารณสุขมูลฐานตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดทำข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขของอบต.ตุยงมีนโยบายด้านการพัฒนาสังคม และการเสริมสร้างพลังชุมชน ที่ต้องการพัฒนาทางสังคม เป็นการนำเอาเรื่องการเสริมสร้างพลังที่มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนสามารถเพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในชุมชนท้องถิ่น และสังคม มีส่วนร่วมในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองได้อย่างมีคุณค่าและมีศักดิ์ศรี มีคุณธรรมจริยธรรม เปิดพื้นที่และโอกาสให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่างสร้างสรรค์ และนโยบายด้านการพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการพัฒนายกระดับงานทางด้านการจัดการสุขภาวะชุมชนแบบองค์รวมให้เกิดการตระหนักและการตื่นตัวต่อการจัดการสุขภาวะภาคประชาชน ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมด้านการสร้างสุขภาพของประชาชน และการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นยุทธศาสตร์สร้างนำซ่อม,สนับสนุนการควบคุมป้องกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ส่งเสริมให้เกิดกลุ่มอาสาสมัครที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะในการดูแลสุขภาพ จัดให้มีการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการถ่ายโอนภารกิจด้านสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 พัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม โดยตำบลตุยงมีประชากรในพื้นที่ทั้งหมด 6,929 คน (ข้อมูล ณ 1 เดือนเมษายน 2563 ) มีทั้งหมด 8 หมู่บ้าน กลุ่มอาชีพต่างๆ ในพื้นที่ เช่น กลุ่มอาชีพเกษตรกร, กลุ่มประมง และรับจ้างทั่วไป ซึ่งกลุ่มอาชีพหลักๆดังกล่าวยังขาดการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ องค์การบริหารส่วนตำบลตุยงโดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มอาชีพดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อขอรับการสนับสนุนและบูรณาการร่วมกับเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
  4. เพื่อเพิ่มนวัฒกรรมในการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การพัฒนาทีกษะแกนนำกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและแกนนำอาสาสมัครชีวะอนามัย
  2. พัฒนาระบบหรือกลไกเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง
  3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
  4. ประชุมติดตามผลพฤติกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ตำบลตุยง
  2. เกิดกลุ่มอาสาสมัครชีวอนามัย ตำบลตุยง ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
  3. เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรในตำบลตุยง
  4. เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
  5. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรในตำบลตุยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
50.00 50.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตรการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
0.00 1.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
0.00 16.00

 

4 เพื่อเพิ่มนวัฒกรรมในการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเกษตรกร
ตัวชี้วัด : มีนวัฒกรรมในการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเกษตรกรเกิดขึ้น
0.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน (3) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (4) เพื่อเพิ่มนวัฒกรรมในการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาทีกษะแกนนำกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและแกนนำอาสาสมัครชีวะอนามัย (2) พัฒนาระบบหรือกลไกเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (4) ประชุมติดตามผลพฤติกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเกษตรกร ปีี 64 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3065-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ddd )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด