กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ


“ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง ”

ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอุไร สันสาคร

ชื่อโครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5210-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน เอื้ออำนวยให้เด็กวัยรุ่นมีพฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในด้านลบก่อให้เกิดการมีวิถีชีวิตแบบนั่งอยู่กับที่รูปแบบการดำเนินชีวิตที่ยุ่งเหยิง ให้ความสำคัญกับการแข่งขัน รวมถึงโครงสร้างครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงไป การขาดความเชื่อมโยงกันทางสังคม ทำให้โอกาสในการทำกิจกรรมทางกายของเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลการเจริญเติบโตผิดปกติ เด็กมีสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ก่อให้เกิดปัญหาโรคอ้วนทั้งในวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่นำไปสู่การไร้ความสามารถและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดปัจจุบันเป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆ ของประเทศไทยและประเทศอื่นๆทั่วโลก โรคนี้มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นบริเวณพุง หรือที่เรียกว่า “อ้วนลงพุง”ส่งผลให้ความดันเลือด ไขมันไตรกลีเซอไรด์และน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น แต่ไขมันดี (HDL-C) ในเลือดลดต่ำลงเป็นผลลบต่อสุขภาพ จากปัญหาเรื่องเด็กและเยาวชนปฏิบัติกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอต่อการมีสุขภาพดี มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงปัญหาเด็กอ้วนที่เพิ่มมากขึ้น กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบเด็กไทยวัยเรียน ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ มีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้นจาก ๑๒.๕ % เป็น ๑๓.๑ %ตลอดจนพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อให้ทุกคนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของรัฐบาลในยุคปัจจุบัน รวมไปถึงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในด้านการพัฒนาคุณภาพโปรแกรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียนให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วนกองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพได้ดำเนินโครงการ “โชป้า แอนด์ชายด์ป้าเกมส์ ลดเรียน เพิ่มรู้ สู่อาเซียน” ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ร่วมกับภาคีเครือข่าย จำนวน ๑๓ โรงเรียน ๖ จังหวัด และ๔ ศูนย์อนามัย พบว่าเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมและทำกิจกรรมตามโปรแกรมอย่างน้อยวันละ ๖๐ นาที ๕ วันต่อสัปดาห์ สามารถลดน้ำหนักตัวได้ร้อยละ ๑๐๐ และมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้นทุกด้านจากข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน (๖-๑๘ ปี)ของตำบลบางกล่ำ พบว่าปี ๒๕๕๙ มีเด็กวัยเรียนทั้งหมดจำนวน ๔๕๗ราย เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนจำนวน ๒๙๐ รายคิดเป็น ร้อยละ ๖๓.๔๕ เด็กอ้วนจำนวน ๖๒ รายคิดเป็นร้อยละ๑๓.๕๗ คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวโรงพยาบาลบางกล่ำ จึงได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สองดี แข็งแรง (Smart Kid &ChoPAChiPA Coacher)
เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติกิจกรรมทางกาย ให้เด็กผ่อนคลาย สนุกสนานกับการเล่นที่หลากหลาย นำไปสู่ความพร้อมในการเรียนรู้ทางวิชาการ พัฒนาคุณภาพการเรียนที่ดีขึ้น เด็กได้เรียนรู้การเคลื่อนไหว และแสดงออกทางการกีฬาร่วมกับการมีความรู้ด้านโภชนาการเพื่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย ส่งผลให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง ป้องกันการเกิดโรคอ้วนในเด็ก และลดความเสี่ยงในการเป็นโรค NCD ในผู้ใหญ่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน มีกิจกรรมทางกายฝึกความอดทนและมุ่งมั่น
  2. ๒. เพื่อให้นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตสมวัยมีรูปร่างดีสมส่วน
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโภชนาการ และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  4. ๔. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุโภชนาการ และภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมปฏิบัติการแกนนำ
  2. กิจกรรมดีเดย์และติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เกิดโชป้า แอนด์ชายด์ป้าโค้ช ในโรงเรียนอย่างน้อย ๑๐ คนต่อโรงเรียน ๒. เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๐ ๓. เด็กวัยเรียนมีรูปร่างดี สมส่วน ๔. เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมปฏิบัติการแกนนำ

วันที่ 26 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. มีการจัดทำคู่มือเฝ้าระวังสุขภาพรายบุคคล
  2. จัดทำสื่อ และประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. จัดกิจกรรมอบรมปฏิบัติการให้ความรู้ด้านโภชนาการ ความเครียด และกิจกรรมทางกายใน เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดแกนนำเด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน จำนวน 3 กลุ่ม ได้รับการอบรมปฏิบัติการความรู้ทักษะด้านโภชนาการ ความเครียด และกิจกรรมทางกายในท่าต่าง ๆ 2.  มีการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดให้มีการทำกิจกรรมทางกายอย่างน้อย ครั้งละ 1 ชม.สัปดาห์ละ 3 วัน 3.  มีการประเมินสมรรถภาพทางกาย ก่อนเข้าร่วมโครงการเพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามผลเมื่อครบ 2 เดือน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน มีกิจกรรมทางกายฝึกความอดทนและมุ่งมั่น
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒. เพื่อให้นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตสมวัยมีรูปร่างดีสมส่วน
ตัวชี้วัด :

 

3 ๓. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโภชนาการ และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด :

 

4 ๔. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุโภชนาการ และภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเด็กอ้วน มีกิจกรรมทางกายฝึกความอดทนและมุ่งมั่น (2) ๒. เพื่อให้นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตสมวัยมีรูปร่างดีสมส่วน (3) ๓. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโภชนาการ และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (4) ๔. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุโภชนาการ และภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมปฏิบัติการแกนนำ (2) กิจกรรมดีเดย์และติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สู่สุขภาพเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร สันสาคร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด