กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ


“ โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม ”

ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปรียาภรณ์ วรรณชาติ

ชื่อโครงการ โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5210-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสังเกตพื้นที่ หมู่ ๑ 2 3 ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา พบว่ามีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทุกปี และไม่มีสถานที่กำจัดขยะในชุมชน มีขยะที่เป็นถุงพลาสติกจำนวนมาก ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ซึ่งอาจส่งผลต่อภาวะสุขภาพได้ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคผิวหนัง โรคระบบทางเดินหายใจ และโรคอื่นๆได้ หากมีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางจากแหล่งกำเนิดจะสามารถลดการเกิดโรค และลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดลงได้ ทางกลุ่มแกนนำอสม.และผู้นำชุมชน ร่วมกับหน่วยงานPCUเวชปฏิบัติโรงพยาบาลบางกล่ำและประชาชน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก ฉะนั้นการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและปลูกฝังเยาวชน ให้เรียนรู้การคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางในระดับครัวเรือน การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เยาวชนตระหนักและเข้าใจสภาพปัญหาหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น มีความสนใจและใส่ใจที่จะปฏิบัติตาม ซึ่งการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะนอกจากสามารถลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิดลงได้แล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้ จากการคัดแยกขยะเพื่อนำไปขายและการทำปุ๋ยได้อีกด้วย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๑, ๒, ๓ ร่วมกับคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว โรงพยาบาลบางกล่ำ จึงจัดทำโครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อดำเนินการพัฒนาองค์ความรู้และการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชน และเยาวชน เพื่อขยายผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุมชน เพื่อให้โครงการมีความต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นต้นแบบของการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน เพื่อให้มีการดำเนินการโครงการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วมของพื้นที่ เพื่อให้พื้นที่ชุมชนมีการจัดกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี อันจะเป็นประโยชน์และสร้างความภาคภูมิใจต่อชุมชนและเป็นพื้นที่นำร่อง เสริมสร้างองค์ความรู้แก่แกนนำชุมชน/อสม.นักเรียน ประชาชน ในการมีส่วนร่วมดูแล รักษาสภาพแวดล้อม โดยให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดต้นทางเพื่อให้ชุมชนบางกล่ำเป็นพื้นที่สีเขียวมีความต่อเนื่อง เพื่อขยายผลการดำเนินงานให้เป็นรูปธรรมและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มแกนนำเยาวชนเพื่อเป็นพลังในการดูแล อนุรักษ์ และส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
  2. เพื่อขยายผลการดำเนินงาน มีแกนนำเยาวชนในพื้นที่ให้มีความต่อเนื่องตามแผนงาน/โครงการด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสริมความรู้ เรื่องอันตรายจากขยะและการคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เยาวชนเกิดจิตสำนึกและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมและเป็นพลังในการดูแลอนุรักษ์ และส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อป้องกันปัญหาไข้เลือดออก ๒. มีการขยายผลการดำเนินงานและเกิดแกนนำเยาวชนในพื้นที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องตามแผนงาน/โครงการด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเสริมความรู้ เรื่องอันตรายจากขยะและการคัดแยกขยะ

วันที่ 29 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสริมความรู้ เรื่องอันตรายจากขยะและการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีการนำความรู้ไปใช้คัดแยกขยะที่บ้านได้จริง

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มแกนนำเยาวชนเพื่อเป็นพลังในการดูแล อนุรักษ์ และส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อขยายผลการดำเนินงาน มีแกนนำเยาวชนในพื้นที่ให้มีความต่อเนื่องตามแผนงาน/โครงการด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มแกนนำเยาวชนเพื่อเป็นพลังในการดูแล อนุรักษ์ และส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม (2) เพื่อขยายผลการดำเนินงาน มีแกนนำเยาวชนในพื้นที่ให้มีความต่อเนื่องตามแผนงาน/โครงการด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมความรู้ เรื่องอันตรายจากขยะและการคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการต้นกล้ารักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปรียาภรณ์ วรรณชาติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด