กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร ”

ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร

ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-50117-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-50117-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมอนามัยร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยจากจากการสำรวจของกองทันตสาธารณสุข พบว่าเด็กประถมศึกษา มีปัญหาโรคฟันผุเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ในช่วง ๑๕ ปีที่ผ่านมา สาเหตุมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ด้วยเหตุนี้การดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพ และการแก้ปัญหาฟันผุในวัยเรียน จึงจำเป็นที่จะต้องปรับแนวคิดและแนวทางดำเนินงานด้านทันตสุขภาพให้เป็นระบบตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินโครงการการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพให้สอดคล้องกับโครงการ    “ เด็กไทยทำได้ ”ซึ่งประกอบด้วย การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน การลดการบริโภคอาหารหวาน และการจัดการเรียนรู้ทางทันตสุขภาพ ทางหน่วยงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนประถมศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมสำคัญที่ช่วยลดการเกิดโรคฟันได้แก่ งานเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา การตรวจสุขภาพช่องปาก การเคลือบหลุมร่องฟัน การให้ทันตสุขศึกษา การจัดการเรียนรู้ทางทันตสุขภาพ กิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน  การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน และกิจกรรมเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของสำนักทันตสาธารณสุขปี ๒๕๕๙ พบว่า สถานการณ์สุขภาพช่องปากของเด็ก๑๒ ปี มีฟันผุร้อยละ ๔๙.๔๐,ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด ๑.๙ ซี่/คน ,มีเหงือกอักเสบร้อยละ ๔๖.๑๗ จากการสำรวจสภาวะ    ช่องปากของนักเรียนจังหวัดตรังประจำปี ๒๕๖๑,๒๕๖๒ มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๓๘.๒๐,๓๙.๐๓ มีสภาวะเหงือกอักเสบร้อยละ ๒๒.๘๐,๑๘.๙๑ ตามลำดับ และจากการสำรวจสภาวะช่องปากของนักเรียนอำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ปี ๒๕๖๑,๒๕๖๒ มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๔๕.๓๐,๔๑.๕๘ มีสภาวะเหงือกอักเสบร้อยละ ๑๕.๗๐,๑๔.๓๖ ตามลำดับ จากการสำรวจสภาวะช่องปากนักเรียนของตำบลนาโยงเหนือในปี ๒๕๖๐ พบมีอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ๓๗.๑๔ ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด ๑.๒ ซี่/คน ซึ่งสูงสุดในอำเภอนาโยง โดยโรงเรียนวัดจอมไตรพบฟันผุมากถึงร้อยละ ๗๐ มีสภาวะเหงือกอักเสบร้อยละ ๔๐ พบฟันผุค่อนข้างสูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและต้องมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ออกติดตามการดำเนินงานทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา เพื่อให้การป้องกันโรคฟันผุในโรงเรียนประถมศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จ จึงจำเป็นต้องติดตามการดำเนินงานทันตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานทางทันตกรรมกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลนาโยง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงขอเสนอโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนวัดจอมไตร ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ปี ๒๕๖๔ ขึ้น โดยให้ครูและนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทันตสุขภาพ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากหลังฟื้นฟูโควิท ๑๙ ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนแกนนำด้านทันตสุขภาพโรงเรียนวัดจอมไตร จำนวน ๒๔ คน
  2. ครูแกนนำด้านทันตสุขภาพ จำนวน ๓ คน
  3. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๙ คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24
    กลุ่มวัยทำงาน 9
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    แกนนำครูและนักเรียนมีความรู้และเจตนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปาก เป็นพลังในการผลักดันการดำเนินงานทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ไปดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง เพื่อนสมาชิกในครอบครัว และขยายสู่ชุมชนเพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพช่องปากที่ดีโดยปราศจากโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมด้านส่งเสริมทันตสุขภาพและจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้ปกครองและนักเรียนเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปาก และให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาทันตสุขภาพ โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทันตสุขภาพ ทุกภาคส่วนมีส่วนช่วยในการดูแลสุขภาพช่องปากหลังฟื้นฟูโควิท ๑๙ เกิดนโยบายสาธารณะในการป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากมีการดำเนินงานด้านทันตสุขภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 นักเรียนแกนนำด้านทันตสุขภาพโรงเรียนวัดจอมไตร จำนวน ๒๔ คน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 ครูแกนนำด้านทันตสุขภาพ จำนวน ๓ คน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 วิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๙ คน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 33
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24
    กลุ่มวัยทำงาน 9
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนแกนนำด้านทันตสุขภาพโรงเรียนวัดจอมไตร  จำนวน ๒๔ คน (2) ครูแกนนำด้านทันตสุขภาพ  จำนวน  ๓  คน (3) วิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  จำนวน    ๙    คน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษา โรงเรียนวัดจอมไตร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-50117-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด