กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังวน


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ ”

ตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ปชาพัฒนไพศาล

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ

ที่อยู่ ตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1472-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1472-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังวน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาเกี่ยวกับคนพิการได้รับความสนใจจากสังคมในวงกว้างมาเป็นเวลานาน สำหรับประเทศไทยการดำเนินการด้านสงเคราะห์ พัฒนา และฟื้นฟูคนพิการ กล่าวได้ว่าส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลและแรงผลักดันจากภายนอกประเทศทั้งระดับโลกและระดับภูมิภาค ซึ่งรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับคนพิการเป็นอย่างมาก จากการที่รัฐบาลได้วางนโยบาย ยุทธศาสตร์การบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ นโยบายสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ข้อ ๔.๕ นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม ข้อ ๔.๕.๕ เสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะต่าง ๆ สำหรับรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ (และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๕๕๒) มาตรา ๖๗ (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการในตำบลให้มีการพัฒนาคุณภาพ ที่ดีขึ้น และสามารถใช้ชีวิตในอนาคตได้อย่างมีความสุข องค์การบริหารส่วนตำบลวังวนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการส่งเสริมและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ (และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๕๕๒) จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ การจัดสวัสดิการการส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิการสนับสนุนให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอิสระ มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์และเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพคนพิการ
  2. 2. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค
  3. 3. เพื่อให้ผู้พิการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด และประสบการณ์ร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของคนพิการ มีการดูแลเอาใจใส่คนในครอบครัว ๒. ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค ๓. ผู้พิการมีความตื่นตัว ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผู้พิการและผู้ดุแลคนพิการได้ตระหนักถถึงความสำคัญการดูแลสุขภาพและมรความเข้าใจในการปฎิบัติตนเพื่อลดภาวะการณ์เกิดโรคได้ ทำให้ผู้พิการมีความตื่นตัว และดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีสุขภาพที่แข็งแรงต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพคนพิการ
    ตัวชี้วัด : ๑. ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของคนพิการ มีการดูแลเอาใจใส่คนในครอบครัว

     

    2 2. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค
    ตัวชี้วัด : ๒. ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค

     

    3 3. เพื่อให้ผู้พิการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด และประสบการณ์ร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ๓. ผู้พิการมีความตื่นตัว ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพคนพิการ (2) 2. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค (3) 3. เพื่อให้ผู้พิการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด และประสบการณ์ร่วมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1472-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวิทย์ ปชาพัฒนไพศาล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด