กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน ”
ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางทัศวรรณ ขวัญหวาน นายพัชรณัฏฐ์ ดุลยพัชร์




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน

ที่อยู่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5270-101 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5270-101 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด ในแต่ละปี มีผู้ป่วยจำนวนมาก และบางรายถึงกับเสียชีวิต ก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรบุคคล เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ทั้งๆที่โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ป้องกันได้ ข้อมูลรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 22 กันยายน 2563 ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 1,003 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 70.22 รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.07 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอสิงหนคร ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 29 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 35.86 ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต  ตำบลวัดขนุน ได้รับรายงานจาก รพ.สต.วัดขนุน สถานการณ์ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย  ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม -23 กันยายน 2563 จำนวน 7 ราย ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน 2 ราย จากสถานการณ์ดังกล่าว โรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ ที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมและป้องกันโรค ด้านการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา สำหรับบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำได้โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เจ้าหน้าที่ อสม. ตลอดจนประชาชน และนอกจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายแล้ว ความต่อเนื่องและสม่ำเสมอของการปฏิบัติงานก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญ ที่จะทำให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลวัดขนุน จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ขึ้น เพื่อกำจัดตัวแก่ยุงลายพาหะนำโรค และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. เพื่อป้องกันการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเฝ้าระวัง ควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. ประชุมเจ้าหน้าที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
  3. ประเมินผลโครงการและรายงานผลการ
  4. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย กรณีเฝ้าระวัง/ควบคุมโรค
  5. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  6. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  7. กิจกรรมประชุมเจ้าหน้าที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
  8. ประเมินผลโครงการและรายงานผลการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายลดลง
  2. ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  3. ประชาชนร่วมมือกันและมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอทำให้ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย กรณีเฝ้าระวัง/ควบคุมโรค

วันที่ 1 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อ น้ำยาพ่นหมอกควันกำจัดยุง  สเปรย์กำจัดยุง โลชั่นทากันยุง และทรายทีมีฟอส เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในชุมชน
ประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีวัสดุพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในพื้นที่ตำบลวัดขนุน  ดังนี้
สเปรย์กำจัดยุง                จำนวน  ๕ โหล
ทรายทีมีฟอส                    จำนวน  ๕ ถัง
น้ำยาพ่นหมอกควันกำจัดยุง    จำนวน  ๑๐ ขวด

 

0 0

2. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

วันที่ 1 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

๑. ลงพื้นที่ดำเนินการพ่นหมอกควันฆ่ายุงลายตัวเต็มวัย (กรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรค)  เฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย โดยการสำรวจหาค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI ,CI) โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และมัสยิด และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในกรณีที่เกิดโรค
๒. ดำเนินการพ่นหมอกควัน ในโรงเรียนช่วงก่อนเปิดเทอม กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
๓. ประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-การเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย แก่โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และมัสยิด ในพื้นที่ตำบลวัดขนุน
-โดยการพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ ตามแผนปฏิบัติการก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๑ ระหว่างวันที่  ๒๘ พฤษภาคม- ๙ มิถุนายน ๒๕๖๔  ดำเนินการพ่นหมอกควัน  จำนวน ๘ ครั้ง

 

0 0

3. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

วันที่ 1 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

๑.ลงพื้นที่ดำเนินการพ่นหมอกควันฆ่ายุงลายตัวเต็มวัย (กรณีเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรค)  เฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย โดยการสำรวจหาค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI ,CI) ในชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และมัสยิด และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในกรณีที่เกิดโรค
๒. มีการเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในพื้นที่ชุมชน โดย อสม. เป็นแกนหลักในการเฝ้าระวังโรคในหลังคาเรือนที่ อสม.เป็นผู้รับผิดชอบ
๓. ดำเนินการพ่นสเปรย์กำจัดยุงตัวแก่ในบ้านผู้ป่วยทันทีหลังได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
๔. ดำเนินการพ่นหมอกควันในรัศมี 100 เมตร จากบ้านที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เพื่อควบคุมการระบาดของโรค
๕. ประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการเกิดโรค  โดยการพ่นหมอกควันฆ่ายุงลายตัวเต็มวัย กรณีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก กรณีรับแจ้งมีผู้ป่วยในพื้นที่ตำบลวัดขนุน ดังนี้
      -มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก    จำนวน ๒  ราย  ดำเนินการพ่นหมอกควัน  บ้านผู้ป่วยและรัศมี ๑๐๐ เมตร จำนวน ๔ ครั้ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายลดลงจากเดิม
0.00

 

2 เพื่อป้องกันการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย (2) เพื่อป้องกันการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวัง ควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) ประชุมเจ้าหน้าที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (3) ประเมินผลโครงการและรายงานผลการ (4) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย  กรณีเฝ้าระวัง/ควบคุมโรค (5) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (6) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายกรณีเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (7) กิจกรรมประชุมเจ้าหน้าที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (8) ประเมินผลโครงการและรายงานผลการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตำบลวัดขนุน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5270-101

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทัศวรรณ ขวัญหวาน นายพัชรณัฏฐ์ ดุลยพัชร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด