กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ ”

ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางเอกศรา มณีนิยม

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ

ที่อยู่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-l4046-2-02 เลขที่ข้อตกลง 64-L4046-2-02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2564 ถึง 1 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-l4046-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2564 - 1 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการกำจัดขยะเป็นปัญหาในภาพใหญ่ของหลายๆ ประเทศ ซึ่งประเทศไทยเองก็กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้าง เป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอย่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่แพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก ระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่าควันจากการเผาขยะ และเกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้เกิดสารตกค้างทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นผลให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น จนเกิดภาวะโลกร้อน (Globle Warmming) และขยะเปียกหรือขยะที่เป็นเศษอาหารจากครัวเรือนซึ่งบางครัวเรือนยังใช้วิธีการกำจัดด้วยการทิ้งลงถัง อบต. ซึ่งส่งผลให้ขยะเหล่านั้นเน่าเปื่อยส่งกลิ่นเหม็นและเป็นแหล่งรังโรคในพื้นที่อีกด้วย     ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 เล็งเห็นความสำคัญด้านการสเริมสร้างสุขภาพที่ได้รับสารพิษและสารเคมีในขยะอันตรายเชื้อโรคต่างๆที่ทำให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร อันตรายจากขยะติดเชื้อ ที่ทำให้เกิดโรคต่างๆ แก้ไขปัญหาการจัดการขยะที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น โดยมุงหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม โดยสอดคล้องกับพื้นที่และสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยกระบวนการการเรียนรู้ในชุมชนในการจัดการขยะของภาคประชาชนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การสร้างจิตสำนึกในการสร้างสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน ที่มีผลต่อสุขภาพที่ดี โดยการสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องและเรียนรู้การจัดการขยะด้วยตนเอง พร้อมทั้งการใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น การนำขยะมารีไซเคิล การทำปุ่ยหมักจากขยะอินทรีย์ เป็นการลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี ลดอัตราการทิ้งขยะเปียก ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือนและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการคัดแยกขยะ
  2. 2 เพื่อสร้างความตระหนักและแรงกระตุ้นให้ประชาชน นำขยะพลาสติกจากครัวเรือนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และลดอัตราการทิ้งขยะจำพวกพลาสติก
  3. 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 15
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนได้รับความรู้สร้างเสริมสุขภาพ ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้ประโยชน์จากขยะ
    2.ลดขยะมูลฝอยในชุมชน 3.สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่
    4.ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือนและชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด : เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการคัดแยกขยะ
    50.00

     

    2 2 เพื่อสร้างความตระหนักและแรงกระตุ้นให้ประชาชน นำขยะพลาสติกจากครัวเรือนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และลดอัตราการทิ้งขยะจำพวกพลาสติก
    ตัวชี้วัด : 2.อัตราการทิ้งขยะลดลง ครัวเรือนให้ความร่วมมือในการทำ Eco – Bricks หรือการนำขยะที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้นำกลับมาใช้มากขึ้น
    50.00

     

    3 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 3.ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือน
    50.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 15
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการคัดแยกขยะ (2) 2 เพื่อสร้างความตระหนักและแรงกระตุ้นให้ประชาชน นำขยะพลาสติกจากครัวเรือนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และลดอัตราการทิ้งขยะจำพวกพลาสติก (3) 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างชุมชนใช้ประโยชน์จากขยะ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 64-l4046-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเอกศรา มณีนิยม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด