กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ปกครองรายใหม่ที่เข้าร่วมการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 25.88 ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 63.39 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็น ร้อยละ 89.27
  2. จากการทำแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมของผู้ปกครองรายใหม่ก่อนการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูอรไรด์ (SDF) เพื่อหยุดยั้งการผุลุลามของฟันน้ำนมในเด็ก ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 44.27 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 81.69 แสดงให้เห็นว่าเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมแล้วผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 37.42
  3. ครูผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 22.22 ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 67.46 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็น ร้อยละ 89.68
  4. จากการทำแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมของครูผู้ดูแลเด็กก่อนการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ (SDF) เพื่อหยุดยั้งการผุลุกลามของฟันน้ำนมในเด็ก ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 65.08 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 89.68 แสดงให้เห็นว่าเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมแล้วผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 24.60
  5. จากการทำแบบแสดงความคิดเห็นของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทั้งหมดจำนวน 152 คน พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมเห็นด้วยมากที่สุดคือการรักษาฟันผุหยุดยั้งด้วยการใช้ SDF ได้ผลดีในเด็กเล็ก คิดเป็นร้อยละ 100 และผู้เข้าอบรมไม่เห็นด้วยมากที่สุดคือ ยอมรับได้ต่อสีของฟันนผุภายหลังทา SDF คิดเป็นร้อยละ 4.61
    6.ได้รับการบูรณฟันด้วย SMART Technique 101/272 คน/ซี่ (จำนวนคนที่อุดได้คิดเป็นร้อยละ 86.32 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 77.27)
  6. จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 1 เดือนแล้วพบว่าเด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษาคิดเป็น ร้อยละ 100 พบรอยโรคหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 3.33 คุณภาพชีวิตหลังการรักษาพบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติคิดเป็นร้อยละ 100 รับประทานอาหารได้มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 26.66 และในภาพรวมผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่เด้กได้เข้าถึงบริการและได้รับการบูรณะฟัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กรายใหม่และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพิ่มขึ้น
80.00

 

2 เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนม ในเด็กอายุ 3-5 ปี
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ลดการสูญเสียฟันน้ำนม และลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่อุดไป อย่างน้อยร้อยละ 50
50.00

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปี ที่ฟันผุได้รับการอุดฟัน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีฟันผุได้เข้าถึงการรับบริการอุดฟัน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 273
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 121
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 152

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี (2) เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนม  ในเด็กอายุ 3-5 ปี (3) เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปี ที่ฟันผุได้รับการอุดฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเล็กทุกคน (3) ให้การบูรณฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ (4) ติดตามผลหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART แล้ว เด็กไม่มีอาการปวดฟันและสุ่มการยึดติดการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ในเด็กที่ขึ้นชั้นอนุบาลที่ได้รับการอุดฟันไปแล้ว (5) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh