กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด้กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 57,025 บาท โดยมีวัตถุประสงค์โครงการ เพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่เหมาะสมตามวัย และพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ให้เหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 80 บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่ววมกิจกรรม มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย (2) ร้อยละ 85 เด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน ตามแบบประเมิน DSPM

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

  • กิจกรรมที่ 1 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย
  • กิจกรรมที่ 2 ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด-5 ปี
  • กิจกรรมที่ 3 ดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมสมอง
  • กิจกรรมที่ 4 ดำเนินกิจกรรมรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการที่สนใจ 20 คน เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบ
  • กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินงาน

  1. มีการประชาสัมพันธ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน ทั้ง 12 หมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ร้อยละ 100 โดยบิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

  2. บิดา - มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี ได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย การได้รับวัคซีน ทันตสุขภาพ การเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ พัฒนาการตามกลุ่มวัย และการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

  3. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมพลังสมอง ร้อยละ 100

  4. กิจกรรมสร้างครอบครัวต้นแบบ โดยมีผู้เข้าร่วมสนใจเข้าร่วมโครงการ 20 คน ร้อยละ 100 และผ่านการประเมิน DSPM 5 ด้าน และมีการมอบเกียรติบัตรเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้ง 20 คน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใรความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย โดยประเมินตามแบบประเมินความรู้ ผ่านร้อยละ 85 และเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน โดยใช้แบบประเมิน DSPM ผ่านร้อยละ 76

ปัญหาอุปสรรค

  • เนื่องจากระยะเวลาการจัดทำโครงการมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้การดำเนินโครงการต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้บางกิจกรรมมีข้อจำกัดที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์

  • บางกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับเด็กปฐมวัยต้องใช้ระยะเวลานานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความร่วมมือจากเด็กปฐมวัย ทำให้กิจกรรมลล่าช้า

  • ผู้ปกครองในปัจจุบันต้องทำงานนอกบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาในการส่งเสริมพัฒนาการลูก ส่วนใหญ่ลูกอยู่กับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ

  • ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการปพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  • ติดตามการกระตุ้นและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยกับบิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอ เพื่อความต่อเนื่องและพัฒนาการที่สมวัย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. เนื่องจากระยะเวลาการจัดทำโครงการมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้การดำเนินโครงการต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้บางกิจกรรมมีข้อจำกัดที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์

  2. บางกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับเด็กปฐมวัยต้องใช้ระยะเวลานานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความร่วมมือจากเด็กปฐมวัย ทำให้กิจกรรมลล่าช้า

  3. ผู้ปกครองในปัจจุบันต้องทำงานนอกบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาในการส่งเสริมพัฒนาการลูก ส่วนใหญ่ลูกอยู่กับผู้สูงอายุ

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ