กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางมณเฑียร แสงชาตรี

ชื่อโครงการ โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3326-02-001 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3326-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 206 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) มีแนวโน้มการแพร่ระบาดที่เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทยอาจเข้าสู่การระบาดในระยะที่ 3 โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จึงได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19)เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2563 ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคดังกล่าว ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว1538 เรื่อง การบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ในเขตพื้นที่จังหวัด และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว1733 เรื่อง มาตรการป้องกัน และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เข้าสู่โรงเรียน หมู่บ้าน/ชุมชน ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดเข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน ตลอดจนเพื่อป้องกันกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มเสียงที่ง่ายต่อการติดเชื้อที่อยู่ในโรงเรียน จึงได้จัดให้มี โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เข้าสู่โรงเรียนและชุมชน ขึ้น โรงเรียนวัดแหลมโตนดได้มีมาตรการการควบคุมหลายมาตรการตาม พรก.ฉุกเฉิน เช่น มาตรการเคอร์ฟิว ห้ามการประชุม ชุมนุม ส่วมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) โรงเรียนวัดแหลมโตนด ก็ได้ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด จึงไม่พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหลังวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้พฤติกรรมของประชาชนบางอย่างเปลี่ยนไป จนกลายเป็นความปกติใหม่ หรือฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ในทุกสถานการณ์ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือการป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค ที่สำคัญหากต้องดำเนินกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น จะต้องดำเนินการตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและกฎระเบียบและประกาศของโรงเรียนวัดแหลมโตนด โดยจะต้องได้รับการคัดกรองก่อนที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนทุกๆวันทุกเช้าตามมาตรการควบคุมหลัก คือ การให้มีจุดบริการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรค การสวมหน้ากากอนามัย การให้เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะและระหว่างที่นั่ง รวมถึงระยะห่างระหว่างการเดินอย่างน้อย 1 เมตร การทำความสะอาดในบริเวณสถานที่สำหรับให้บริการแก่นักเรียนและผู้ปกครอง รวมถึงบุคคลภายนอกผู้มาเยือนสถานศึกษา และการให้ควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด ดังนั้น โรงเรียนวัดแหลมโตนด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการแพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)เพื่อมาดำเนินการป้องกันต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดีที่เหมาะสมกับวัยสำหรับเยาวชนเกี่ยวกับโรคต่างๆที่จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
  2. 2.ให้ความรู้อบรมความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด โรคติดต่อต่างๆ โดยเฉพาะโรคไวรัสโควิด 2019
  3. 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโควิด2019และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจที่เกี่ยวข้อง ให้มีใช้และเพียงพอกับความต้องการของนักเรียนในโรงเรียน
  4. 4.เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคในโรงเรียน พื้นที่ของตำบลแหลมโตนดและพื้นที่ใกล้เคียง
  5. 6.เพื่อเป็นสังคมต้นแบบในการปฏิบัติตน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเกิดโรคระบาด
  6. 7.ให้นักเรียนของโรงเรียนวัดแหลมโตนดเป็นนักเรียนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีความรับผิดชอบต่อตนเองโดยคำนึงในการ รู้รับผิดชอบต่อสังคมด้วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 206 คน เข้ารับการ “อบรมเสริมความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามหลักสุขบัญญัติ โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง บูรณาการร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 171
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน บุคคลากรในโรงเรียนวัดแหลมโตนดและผู้ปกครอง ชุมชนใกล้เคียงของโรงเรียนวัดแหลมโตนดตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง
จากโรคโควิด-19และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับคนอื่นได้ 2. มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อที่เอื้อต่อการป้องกันโรคโควิด-19และการสร้างความเข้มแข็งของโรงเรียนและชุมชน 3. มีนโยบาย มาตรการและประกาศของโรงเรียน ที่เอื้อต่อการป้องกันโรคโควิด-19
4. พัฒนาศักยภาพของครูและนักเรียนในการสร้างสื่อและการเผยแพร่สื่อป้องกันโรคโควิด-19 จากการการเรียนการสอนและการทำกิจกรรมบูรรณาการ
ในแต่ละสาระวิชาและแต่ละชั้น ให้เข้าถึงชุมชนได้ 5. พัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยในการดำรงชีวิตในยุค New Normal 6. นักเรียนและบุคคลากรในโรงเรียนวัดแหลมโตนดมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดีต่อการดูแลตนเองในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันตนเองจากโรค
โควิด-19 รวมทั้งเป็นคนที่รักษ์สุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดีที่เหมาะสมกับวัยสำหรับเยาวชนเกี่ยวกับโรคต่างๆที่จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนปลอดภัยจากโรคต่างๆและมีสุขภาพใจและกายที่ดีทุกคน
5.00 90.00

 

2 2.ให้ความรู้อบรมความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด โรคติดต่อต่างๆ โดยเฉพาะโรคไวรัสโควิด 2019
ตัวชี้วัด : นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด โรคติดต่อต่างๆเพื่อเพิ่มความตระหนักในการดูแลและป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค โดยเฉพาะโรคไวรัสโควิด 2019
70.00 100.00

 

3 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโควิด2019และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจที่เกี่ยวข้อง ให้มีใช้และเพียงพอกับความต้องการของนักเรียนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : สถานศึกษาจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ในรักษาความสะอาดที่ได้มาตรฐานและเพียงพอ ในการบริการแก่บุคลากรในสถานศึกษาและผู้มาเยือนเพื่อการป้องกันการแพร่กระจายและระบาดของโรคโควิด -19 ในสถานศึกษา
50.00 100.00

 

4 4.เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคในโรงเรียน พื้นที่ของตำบลแหลมโตนดและพื้นที่ใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : บุคลากรในโรงเรียนวัดแหลมโตนดและบุคลากรในชุมชนแหลมโตนด ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคระบาดโดยเฉพาะโรคโควิด-19
10.00 100.00

 

5 6.เพื่อเป็นสังคมต้นแบบในการปฏิบัติตน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเกิดโรคระบาด
ตัวชี้วัด : บุคลากรในโรงเรียนวัดแหลมโตนดและบุคลากรในชุมชนแหลมโตนด ไม่เป็นบุคคลที่เป็นต้นตอต่อการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคระบาดโดยเฉพาะโรคโควิด-19
0.00 100.00

 

6 7.ให้นักเรียนของโรงเรียนวัดแหลมโตนดเป็นนักเรียนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีความรับผิดชอบต่อตนเองโดยคำนึงในการ รู้รับผิดชอบต่อสังคมด้วย
ตัวชี้วัด : นักเรียนของโรงเรียนวัดแหลมโตนดปฏิบัติตนเป็นผู้มีสุขลักษณะที่ดีตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติและปฏิบัติตามข้อตกลงของโรงเรียนตามมาตรการความปลอดภัยจนเป็นนิสัยปกติ
30.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 206
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 171
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดีที่เหมาะสมกับวัยสำหรับเยาวชนเกี่ยวกับโรคต่างๆที่จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ (2) 2.ให้ความรู้อบรมความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด โรคติดต่อต่างๆ โดยเฉพาะโรคไวรัสโควิด 2019 (3) 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโควิด2019และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจที่เกี่ยวข้อง ให้มีใช้และเพียงพอกับความต้องการของนักเรียนในโรงเรียน (4) 4.เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคในโรงเรียน  พื้นที่ของตำบลแหลมโตนดและพื้นที่ใกล้เคียง (5) 6.เพื่อเป็นสังคมต้นแบบในการปฏิบัติตน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเกิดโรคระบาด (6) 7.ให้นักเรียนของโรงเรียนวัดแหลมโตนดเป็นนักเรียนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีความรับผิดชอบต่อตนเองโดยคำนึงในการ รู้รับผิดชอบต่อสังคมด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน  206 คน เข้ารับการ “อบรมเสริมความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามหลักสุขบัญญัติ โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง บูรณาการร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชีวีปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคไวรัสโควิด 2019 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3326-02-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมณเฑียร แสงชาตรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด