กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย หยีปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5210-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุดได้ แก่กลุ่มอายุ๕-๑๔ปีซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียน การเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๕๙ ทั้งประเทศ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๖๓,๘๐๔ รายคิดเป็นอัตราป่วย ๙๗.๕๒ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๖๔ ราย ในจังหวัดสงขลามีผู้ป่วยป่วยไข้เลือดออก ๕,๕๐๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๓๙๑.๒๗ ต่อประชากรแสนคนมีผู้เสีย ๑๑ ราย (ข้อมูล ๓๑ ธ.ค.๕๙, สจจ.สงขลา)ในพื้นที่อำเภอบางกล่ำ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๑๙๐ราย พบว่ามีอัตราการป่วย ๖๕๑.๐๖ ต่อประชากรแสนคนเป็นผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางกล่ำ จำนวน๑๖ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗๑๗.๘๑ ต่อประชากรแสนคน(ข้อมูล ณ ๓๑ธ.ค.๕๙ สสอ.บางกล่ำ) และยังพบความชุกของลูกน้ำยุงลายค่า HI ร้อยละ ๕๑.๑๑ ค่า CI ร้อยละ๑๗.๑๒ (ข้อมูลเดือน ก.พ.๖๐)ซึ่งยังเกินค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรคซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียวดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่นการรณรงค์การร่วมมือกับโรงเรียนชุมชนสถานที่ราชการต่างๆการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำการพ่นหมอกควันและสารเคมีการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายการใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำและสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางกล่ำ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ขึ้นซึ่งปัญหาโรคไข้เลือดออกถือเป็นโรคอุบัติซ้ำที่เกิดขึ้นแทบทุกปี ส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มวัยนักเรียน ซึ่งเป็นโรคที่อันตรายและส่งผลกระทบทั้งทางด้านร่างกายจิตใจสังคมและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดการสูญเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลและมีแนวโน้มการระบาดสูงขึ้นเรื่อย ๆใน อำเภอบางกล่ำและอำเภอใกล้เคียง อย่างไรก็ตาม ทุกโรคสามารถป้องกันได้หากสมาชิกในครอบครัวและชุมชนมีความรู้และตระหนักในการช่วยกันป้องกันไม่ให้เกิดในชุมชนของเราได้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดขึ้นในชุมชนนั้น จึงเกิดแนวคิดจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้าน ชุมชน วัด และโรงเรียน
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ ๓:๑:๑

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคไช้เลือดออกในชุมชน
  2. กิจกรรมอบรมเรื่องโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง ๒. ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า ๑๐ (HI ≤๑๐) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า ๑๐ (CI ≤ ๑๐) ในสถานบริการ ต่างๆ เช่น โรงเรียน วัดและรพ.สต. ฯลฯควรมีค่า CI = ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ๓. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ ๓:๑:๑


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคไช้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 26 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนได้รับการป้องกันการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านและชุมชน
  2. ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น
  3. ประชาชนสามารถดูแลและป้องกันดูตัวเองรวมทั้งสมาชิกในครอบครัวไม่ให้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกได้
  4. ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  5. ประชาชนได้รับการสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ในชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

 

20 0

2. กิจกรรมอบรมเรื่องโรคไข้เลือดออก

วันที่ 29 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเรื่องโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนได้รับการป้องกันการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านและชุมชน
  2. ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น
  3. ประชาชนสามารถดูแลและป้องกันดูตัวเองรวมทั้งสมาชิกในครอบครัวไม่ให้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกได้
  4. ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  5. ประชาชนได้รับการสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ในชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้าน ชุมชน วัด และโรงเรียน
ตัวชี้วัด :

 

3 ๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ ๓:๑:๑
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้าน ชุมชน วัด และโรงเรียน (3) ๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ ๓:๑:๑

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคไช้เลือดออกในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมเรื่องโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีแย หยีปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด