กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวัชรากร เลิศไกร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5)

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 5 – 1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63 – L7452 – 5 – 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 260,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามรายงานข่าวการระบาดของโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเมืองอูฮั่น มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว โดยเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพรพราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2548 อันดับที่ 14 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 ข้อมูล ณ วันที่ 26 มีนาคม 2563 รายงานล่าสุด วันที่ 22 ธันวาคม 2563 ระบุว่าขณะนี้ทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวนมากกว่า 77,713,365 ราย โดยมีผู้เสียชีวิตสะสมทั่วโลกจำนวน 1,708,837 ราย นอกจากนี้ประเทศสหรัฐอเมริกามีผู้ติดเชื้อมากที่สุด โดยมีผู้ติดเชื้อรวม 18,473,716 ราย มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 200,109 ราย และมีผู้เสียชีวิตรวม 326,772 ราย รองลงมาคือประเทศ อินเดีย บราซิล รัสเซีย ฝรั่งเศส ตามลำดับ สถานการณ์ในประเทศไทยประกาศจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ล่าสุด ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2563มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 427 ราย เป็นการติดเชื้อในประเทศ 16 ราย ซึ่งเชื่อมโยงกับตลาดกลางกุ้ง จ.สมุทรสาคร และจากการคัดกรองเชิงรุกในกลุ่มแรงงานต่างด้าวอีก 397 ราย และเป็นผู้เดินทางมาจากต่างประเทศเข้าสถานกักกันโรค (Quarantine) 14 ราย ยอดสะสมจำนวน 5,716 ราย รวมยอดผู้ป่วยที่ติดเชื้อสะสม 5,716 ราย แบ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศ 3,798 ราย ติดเชื้อในกลุ่มแรงงานต่างด้าวจากการคัดกรองเชิงรุก 1,273 ราย และเป็นผู้เดินทางมาจากต่างประเทศ 1,904 ราย รักษาหายป่วยแล้ว 4,078 ราย ยังรักษาอยู่ในโรงพยาบาล (รพ.) 1,578 ราย เสียชีวิตสะสม 60 ราย ทั้งนี้ในจำนวนผู้ป่วยสะสม 5,716 ราย รับรักษาในกรุงเทพมหานคร (กทม.) และนนทบุรีจำนวน 2,333 ราย ภาคเหนือ 187 ราย ภาคกลาง 2,335 รายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 112 ราย ภาคใต้ 748 ราย ส่วนจังหวัดยะลา มีรายงานผู้ป่วยสะสม 133 ราย รักษาหายสะสม 131 ราย เสียชีวิต 2 ราย มีรายงานพบผู้ป่วยที่เดินทางกลับจากประเทศมาเลเซีย ที่เข้ารับการกักตัว 14 วัน ณ State Quarantine จำนวน 2 ราย รักษาหาย 1 ราย เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจเกิดการแพร่ระบาดขึ้นกับประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา ประกอบกับมีประชาชนที่เดินทางกลับมาจากจังหวัดเสี่ยงและมีแรงงานต่างด้าวเข้ามาประกอบอาชีพในจังหวัดยะลา กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ขึ้นโดยอ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2563 ประกาศ ณ วันที่ 31 มีนาคม2563) ข้อ 10/1 ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 เมษายน 2563

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 คัดกรองกลุ่มสี่ยงและให้ความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา จำนวน 42 ชุมชน
  2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มสี่ยงโรค ติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 42
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลามีสุขภาพที่ดีปราศจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 90 ของประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนคยะลา ได้รับความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. ร้อยละ 90 ประชาชนที่อยู่จริงในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา ได้รับการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3. ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากกว่าร้อยละ 60 4. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองได้รับการส่งต่ออย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัดความพึงพอใจ 5. ร้อยละ 80 ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลามีความพึงพอใจในการดำเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 42
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 42
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 คัดกรองกลุ่มสี่ยงและให้ความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  (COVID-19) แก่ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา จำนวน 42 ชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มสี่ยงโรค  ติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 5 – 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวัชรากร เลิศไกร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด