กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก


“ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ”

โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัด หลีขาหรี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์

ที่อยู่ โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7892-3-..... เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7892-3-..... ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอมีความสำคัญอย่างยิ่งทั้งในมิติของการป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะการมีพัฒนาการที่ดีตลอดช่วงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กนั้น จะสร้างความแข็งแรงของหัวใจ กล้ามเนื้อและกระดูก พัฒนาการเคลื่อนไหว สร้างความเชื่อมั่นในตัวเอง เสริมทักษะการเข้าสังคม พัฒนาสมอง การคิดวิเคราะห์ และพัฒนาภาวะทางอารมณ์ โดยในวัยเด็ก ควรมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางขึ้นไปอย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน แต่จากการสำรวจ พบว่า ปัจจุบัน กลุ่มเด็กมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายลดลง ขณะที่กลุ่มอื่นมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
สำหรับอุปสรรคของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทยนั้น สาเหตุสำคัญเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior) ที่เพิ่มขึ้น โดยพฤติกรรมเนือยนิ่ง 4 อันดับแรกของคนไทยที่ทำติดต่อกันนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อครั้ง คือ นั่ง/นอนดูโทรทัศน์ (ร้อยละ 50) นั่งคุย/นั่งประชุม (ร้อยละ 28.4) นั่งทำงาน/นั่งเรียน (ร้อยละ 27) และนั่งเล่นเกม โทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ (ร้อยละ 20.1) จากข้อมูลสถิติดังกล่าวพบว่า การนั่งเรียนเป็นหนึ่งในการเกิดพฤติกรรมเนือยนิ่ง โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เปิดสอนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรอิสลามศึกษา ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนจำนวน 484 คน จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นพบว่า นักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) มีเพียงร้อยละ 40 และเวลาที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)ในโรงเรียนมีเพียงร้อยละ 30 โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเด็กวัยเรียนผ่านการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเด็กวัยเรียนผ่านการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play
  2. เพื่อเพิ่มกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) จำนวน 40 คน
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนเพื่อถ่ายทอดและเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play& Active learning) จำนวน 40 คน
  4. จัดทำสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning)
  5. ประกวดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเด็กวัยเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
  2. มีกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม

วันที่ 15 มกราคม 2564 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน  ประกอบด้วย ตัวแทนครู ผู้ปกครอง และนักเรียน จำนวน 20 คน เพื่อจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดคณะทำงานและแผนการดำเนินงานโครงการ

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) จำนวน 40 คน

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นคณะครูและบุคลากร จำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจแนวทาง วิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) และสามารถออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) ได้

 

0 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนเพื่อถ่ายทอดและเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play& Active learning) จำนวน 40 คน

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนเพื่อถ่ายทอดและเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) จำนวน 48 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำนักเรียน จำนวน 48 คน สามารถถ่ายทอดและเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) และสามารถช่วยครูจัดกิจกรรมในห้องเรียนได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเด็กวัยเรียนผ่านการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กวัยเรียน ร้อยละ 80 มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ครูร้อยละ 80 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะ Active learning และ Active play
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มเด็กวัยเรียนผ่านการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play (2) เพื่อเพิ่มกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) จำนวน 40 คน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนเพื่อถ่ายทอดและเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play& Active learning) จำนวน 40 คน (4) จัดทำสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) (5) ประกวดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play & Active learning) โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7892-3-.....

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอะหมัด หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด