กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้เด็ก 0 - 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและมีมุมพัฒนาการที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของเด็ก 0-6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและมีมุมพัฒนาการที่ได้มาตรฐาน
90.00 90.13

 

 

เด็ก 0 - 6 ปี จำนวน 152 ราย ได้รับการประเมินพัฒนาการและมีมุมพัฒนาการที่ได้มาตรฐาน จำนวน 137 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.13

2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเรียนรู้ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองและการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๘๐ หญิงอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
80.00 95.42

 

 

หญิงอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี จำนวน 240 ราย ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ จำนวน 229 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.42

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรคและลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ ๒๐ หญิงอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
20.00 20.16

 

 

หญิงอายุ 30 - 60 ปี จำนวน 1,419 ราย ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 286 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.16

4 4. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในวัดเขตพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
ตัวชี้วัด : 4. น้อยกว่าร้อยละ 5 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่
5.00 0.00

 

 

กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ 0

5 5. เพื่อให้ร้านชำ/ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัยต่อผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : 5. ร้อยละ ๙๐ กลุ่มโรคเรื้อรังที่ได้รับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรค
90.00 91.67

 

 

กลุ่มโรคเรื้อรังที่ได้รับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรค จำนวน 121 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.67