โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกมลเนตร เส้งสุ้น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3311-1-8 เลขที่ข้อตกลง 29/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. เห็นควรแจ้งผู้นำหมู่บ้าน และ อสม. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปี เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพตนเอง
2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง
3. สนับสนุนให้ประชาชนมาร่วมกลุ่มกัน เพื่่อออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
4. สร้างความตระหนักให้ประชาชนในพื้นที่เห้นความสำคัญของสุขภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่ โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ “กรรมพันธุ์” และ “สิ่งแวดล้อม” ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ จากข้อมูลอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ปี 2563 พบว่า ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 78 ราย ได้รับการรักษา 75 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเยี่ยม จำนวน 10 ราย พบกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบ 198 ราย ควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ดีเยี่ยม จำนวน 32 รายหากไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ในอนาคต
การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวาน ความดันหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้นโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอย่างเข้มข้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค
- 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชากรกลุ่มป่วย มีความรู้ และ ทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนดไว้
3. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
0.00
2
2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
0.00
3
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านติดตามสุขภาพ
0.00
4
4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
ตัวชี้วัด : 4.กลุ่มเป้าหมายควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ร้อยละ 5
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. เห็นควรแจ้งผู้นำหมู่บ้าน และ อสม. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปี เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพตนเอง
2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง
3. สนับสนุนให้ประชาชนมาร่วมกลุ่มกัน เพื่่อออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
4. สร้างความตระหนักให้ประชาชนในพื้นที่เห้นความสำคัญของสุขภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3311-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกมลเนตร เส้งสุ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกมลเนตร เส้งสุ้น
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3311-1-8 เลขที่ข้อตกลง 29/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. เห็นควรแจ้งผู้นำหมู่บ้าน และ อสม. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปี เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพตนเอง 2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง 3. สนับสนุนให้ประชาชนมาร่วมกลุ่มกัน เพื่่อออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. สร้างความตระหนักให้ประชาชนในพื้นที่เห้นความสำคัญของสุขภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่ โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ “กรรมพันธุ์” และ “สิ่งแวดล้อม” ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ จากข้อมูลอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ปี 2563 พบว่า ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 78 ราย ได้รับการรักษา 75 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเยี่ยม จำนวน 10 ราย พบกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบ 198 ราย ควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ดีเยี่ยม จำนวน 32 รายหากไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ในอนาคต การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวาน ความดันหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้นโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอย่างเข้มข้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค
- 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชากรกลุ่มป่วย มีความรู้ และ ทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนดไว้ 3. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านติดตามสุขภาพ |
0.00 |
|
||
4 | 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ ตัวชี้วัด : 4.กลุ่มเป้าหมายควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ร้อยละ 5 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | 70 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | 70 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตลงได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าลาด ได้รับงบประมาณตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขครับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าลาด จำนวนเงิน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 14,600 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 40 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป้นเงิน 500 บาท
ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าทำสื่อนวัตกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
1.2 ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.3 ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
1.4 ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเยี่ยมบ้านจาก เจ้าหน้าที่และ อสม.
1.5 ร้อยละ 8 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงจากเดิม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. เห็นควรแจ้งผู้นำหมู่บ้าน และ อสม. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปี เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพตนเอง 2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง 3. สนับสนุนให้ประชาชนมาร่วมกลุ่มกัน เพื่่อออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. สร้างความตระหนักให้ประชาชนในพื้นที่เห้นความสำคัญของสุขภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าลาด จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3311-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกมลเนตร เส้งสุ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......