กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางนงนภัส คงวิทยา ประธานโครงการ




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1485-2-22 เลขที่ข้อตกลง 21/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1485-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการให้กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงที่เกี่ยวข้องดำเนินยุทธศาสตร์แห่งชาติ “รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทยแข็งแรง” โดยมีวิสัยทัศน์ที่จะทำให้คนไทยอยู่เย็นเป็นสุขทั้งกายใจ สังคม และปัญญาจิตวิญญาณ มีสัมมาชีพ มีรายได้ ทำงาน ด้วยความสามารถดำรงชีพบนพื้นฐานของความพอดี พอประมาณอย่างมีเหตุผลกำลังกายน้อยลง มีครอบครัวอบอุ่นมั่นคง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี สุขภาพแข็งแรงและอายุยืนยาว หนึ่งในเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกาย คือให้คนไทยออกกำลังกายสม่ำเสมอ และปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่ อยู่ในกลุ่มแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง บางคนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทำให้สุขภาพดีจากสิ่งต่างๆ เช่นยาลดความอ้วน น้ำสมุนไพรต่างๆ ซึ่งมีราคาแพง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่คนในชุมชน

        ชมรมเต้นแอโรบิค บ้านหัวถนนจึง มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริม สนับสนุนและดำเนินการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข ทั้งทางร่างกายและจิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์จากการออกกำลังกาย เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการออกกำลังกายและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายส่งผลทำให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างความสามัคคี ที่สำคัญการออกกำลังกายยังช่วยลดความเสี่ยง  และจะเป็นภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองไม่ให้เกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ และโรคติดต่อต่างๆ ตามฤดูกาลได้เป็นอย่างดี
      ทางชมรมเต้นแอโรบิค บ้านหัวถนน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิคขึ้น ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพื่อให้ประชาชนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง ได้หันมาออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพิ่มมากขึ้นและออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
  2. เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยง จากการเกิดโรคต่างๆ
  3. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแล สุขภาพโดยการออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจดี ลดภาวะเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรค
          ต่างๆได้
      ๒. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค ที่ถูกต้อง   ๓. ก่อให้เกิดความรักสามัคคีในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง   ๔. ประชาชนให้ความสนใจการออกกำลังกายประจำวัน และเข้าร่วมกับ ชมรมเต้น
        แอโรบิคบ้านหัวถนนเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยง จากการเกิดโรคต่างๆ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแล สุขภาพโดยการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (2) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยง          จากการเกิดโรคต่างๆ (3) เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแล            สุขภาพโดยการออกกำลังกาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1485-2-22

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนงนภัส คงวิทยา ประธานโครงการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด