กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางณภาภัช ดำแสงสวัสดิ์ ) หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7250-1-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7250-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019) ซึ่งประกอบกับกระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัส    โควิด–19 เป็นโรคอันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 จะเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงมากมายในสังคมที่เกิดขึ้น เห็นถึงการปรับตัวในการใช้ชีวิตและการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่เรียกว่า ชีวิตวิถีใหม่ วิถีที่ได้สร้างสุขอนามัยทั้งส่วนตัวและส่วนรวม วิถีที่ได้เรียนรู้ว่าการมีภูมิคุ้มกันร่างกายและจิตใจเป็นสิ่งจำเป็น วิถีที่ได้พบว่าระบบการจัดการเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม มีส่วนอย่างมากต่อการปรับตัวของคนในสังคม สำหรับจังหวัดสงขลา ไม่พบผู้ติดเชื้อโรค COVID-19 มานานแล้ว แต่ต้องไม่ประมาท  และยังต้องปฏิบัติตัวตามมาตรการการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ด้วยการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิ      ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ เว้นระยะห่างทางสังคม ตลอดจนการเรียนรู้และปรับตัวในการใช้ชีวิต สำหรับช่วงเวลาที่ผ่านมาเห็นได้ว่าหากเกิดการร่วมมือกัน ทุกวิกฤต ทุกปัญหาก็จะผ่านไปได้ สำหรับวิถีชีวิตใหม่ที่ได้ร่วมกันสร้างสุขอนามัยที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันร่างกาย จิตใจ จะช่วยให้อยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัยจากโรคร้าย และมีชีวิตที่มีความสุข การมีชีวิตวิถีใหม่เป็นเสมือนการเริ่มต้นใหม่ของคนทุกคน การเริ่มปรับตัวใช้ชีวิตในบริบทรูปแบบใหม่ให้เป็นนิสัยเพื่อให้มีชีวิตที่มีความสุขร่วมกัน
ดังนั้นฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เห็นความสำคัญสุขภาพของประชาชนในชุมชนจึงได้ดำเนินจัดโครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพชีวิตวิถีใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ชุมชนปลอดโรค ลดการแพร่เชื้อการระบาดของโรค COVID-19 และปฏิบัติตัวตามมาตรการ  การป้องกันของโรค COVID-19 ได้ถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพชีวิตวิถีใหม่
    ตัวชี้วัด : 1. ลดการติดเชื้อ และไม่เกิดการระบาดของโรค COVID-19 ในชุมชน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพชีวิตวิถีใหม่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ให้มีสุขภาพที่ดี จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7250-1-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางณภาภัช ดำแสงสวัสดิ์ ) หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด