กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย


“ โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาอีซะ เจะเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3020-10 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3020-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ ครั้งแรก การตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร้ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น
    จากการวิเคราะห์ข้อมูลความครอบคลุมของงานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย ในปี พ.ศ.2563 ที่ผ่านมา พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์รายใหม่ทั้งหมด จำนวน 44 คน ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวน 20 คน (45.45%) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (เกณฑ์ 60%) ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 14 คน (31.81) ไม่ผ่านเกณฑ์ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10) ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 44 คน ร้อยละ 100 ฟันผุ 35 คน ร้อยละ 79 และพบมีหินน้ำลาย จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 86.37 เหงือกอักเสบ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ได้รับการขูดหินน้ำลายเพียง 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.78 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (เกณฑ์ 75%) ซึ่งถือเป็นปัญหาทางสาธารณสุขอีกเรื่่องที่ต้องให้ความสำคัญ
    จากการสำรวจพบว่ามารดามีความเชื่อทัศนคติที่แตกต่างกัน ประกอบกับขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลในเรื่องต่างๆ เช่น การดูแลในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด การดูแลสุขภาพช่องปาก และไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์ให้มีคุณภาพขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และบุตรในครรภ์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 130
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มมากขึ้น
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการบริการทันตกรรม
3.เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ สามีหรือญาติมีความรู้และมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมประชุมกลุ่มให้ความรู้ในโรงเรียนพ่อแม่และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
5.มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก และการปฏิบัติตัวในหญิงตั้งครรภ์ที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

วันที่ 21 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564 แก่ อสม. ทราบ
2.มีการประชาสัมพันธ์โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2561 ให้ทั่วถึงในทุกหมู่บ้าน
3.จัดรูปแบบสื่อการสอนหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ 1 และ 2 แบบบูรณาการโดยให้หญิงตั้งครรภ์/สามีหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมประชุมกลุ่ม
4.จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
5.ตรวจฟัน ฝึกทักษะการแปรงฟันในหญิงตั้งครรภ์ พร้อมสาธิตย้อนกลับและทดสอบความสะอาดการแปรงฟันโดยใช้หลอดดูดเขี่ย
6.ให้บริการทันตกรรมตามสภาพช่องปากแต่ละบุคคล
7.สรุปการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มมากขึ้น
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม
3.เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ สามีหรือญาติมีความรู้และมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมประชุมกลุ่มให้ความรู้ในโรงเรียนพ่อแม่และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
5.มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก และการปฏิบัติตัวในหญิงตั้งครรภ์ที่ดีขึ้น

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 130
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3020-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาอีซะ เจะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด