กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งเต้านม
รหัสโครงการ 64- L1496 – 02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ต.นาพละ
วันที่อนุมัติ 16 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 7,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอารี สีนา ประธาน อสม.ตำบลนาพละ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวธนิญาภรณ์ ทองแจ้ง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.599,99.664place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันเป็นกิจกรรมสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขถ้าหากประชาชนได้มีการส่งเสริมสุขภาพรู้จักการดูแลตนเอง รู้จักการป้องกันโรคที่สามารถป้องกันได้ในเบื้องต้นแล้วจะมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพอนามัยที่ดีต่อประชาชน เป็นปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศสภาวะที่บ้านเมืองของเราประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ การลดค่าใช้จ่ายของประเทศจึงเป็นสื่งจำเป็น ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ และการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาที่จะให้ได้รัูขักการดูแลและป้องกันได้ด้วยตนเอง ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านมนั้นซึ่งพบมากเป็นอันดับ 1 ของโรคมะเร็งในสตรี การคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งเต้านมในระยเริ่มแรกนั้น มีโอกาศที่จะรักษาให้หายได้ รวมไปถึงการดูแลป้องกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่สตรีสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรองและพบอาการผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉันต่อไป
  1. สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป มีความรู้และถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้
  2. ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมทุกเดือน
  3. สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ที่พบอาการผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัย ร้อยละ 100   - ตรวจสอบใบบันทึกการตรวจมะเร็งเต้านมประจำเดือนทุกเดือน
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดทำแผนงานโครงการและขออนุมัติ
  2. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในการมีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน
  3. กิจกรรมดูและสุขภาพเชิงรุกประกอบด้วย   - ประกาศ ประชาสัมพันธ์โครงการ   - สาธิตและฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว   - ติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายคัดกรอง   - แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว นำกลุ่มเป้าหมายรับความรู้ และร่วมตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม   - ส่งต่อและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติ
  4. สรุปผลการดำเนินงานถ่ายภาพกิจกรรมและรายงานผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ได้รับความรู้และถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้
  2. สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมทุกเดือน
  3. สตรีอายุ 30 - 70 ปีขึ้นไป ที่พบอากาผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2564 09:53 น.