กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ


“ โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวภัทรียา บุญน้อย

ชื่อโครงการ โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7574-4-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L7574-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,773.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง ๔ ประการด้วยกัน ประการแรกเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่น รวมทั้งสถานบริการทางเลือกในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ประการที่สองเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพประการที่สามเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กรประชาชนในพื้นที่จัดทำกิจกรรม เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และประการสุดท้ายเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนให้มีประสิทธิภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๑ โดยเป็นการทำบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกับเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ซึ่งมีข้อตกลงว่าทางสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะโอนจัดสรรงบประมาณให้แก่ กองทุนตามรายหัวประชากรและทางเทศบาลจะสมทบงบประมาณเข้ากองทุนไม่น้อยกว่าอัตราร้อยละ ๕๐ ของงบประมาณที่ได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๖๑ ตามประกาศข้อ ๑๒ ให้มีคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน ๑๖ คน และมีที่ปรึกษากองทุน จำนวน ๓ คน คณะกรรมการกองทุนฯ มีอำนาจหน้าที่ ๖ ประการ อันได้แก่ ประการแรกพิจารณาอนุมัติแผนการเงินประจำปีของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประการที่สองพิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ ๑๐ ประการที่สามออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน ทั้งนี้ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ประการที่สี่สนับสนุนให้บุคคลในท้องถิ่นสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ในชุมชนหรือหน่วยบริการ ได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ประการที่ห้าให้คำแนะนำในการจัดทำข้อมูลและโครงการ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับงานสาธารณสุขของกลุ่มเป้าหมาย แก่หน่วยงาน องค์กรหรือกลุ่มประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประการที่หกพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานผลดำเนินงาน รายงานการรับเงิน การจ่ายเงินและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ และตามประกาศข้อ ๑๘ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน ๑๐ คน ให้มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการหรือสถานบริการ เมื่อพิจารณาถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการแล้วจะเห็นได้ว่า การดำเนินการใดๆ ของกองทุนล้วนมีความเกี่ยวข้องกับคณะกรรมการทั้งสิ้นและการจะออกมติเห็นชอบหรืออนุมัติกิจกรรมโครงการใดๆ ก็ต้องอาศัยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ซึ่งจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการประชุมคณะกรรมการ ดังนั้น การจัดประชุมคณะกรรมการจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งหากมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลให้เกิดการขับเคลื่อนด้านการสาธารณสุขในพื้นที่ ทั้งในเรื่องส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ อันจะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขและมีสุขภาพที่ดีได้ในที่สุด นอกจากนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ LTC ได้รับการอบรม การประชุมที่เกี่ยวข้องกับงานกองทุนฯ ก็จะเป็นการพัฒนาศักยภาพกรรมการและส่งผลดีต่อการพัฒนากองทุนฯ คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการจึงขอเสนอจัดโครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
  2. ๒. เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการ LTC

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๑
  2. ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์
  3. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๒
  4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๑
  5. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๓
  6. จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๒
  7. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๔
  8. จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๓
  9. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๕
  10. กิจกรรมการประชุม เดินทางไปราชการ ของคณะกรรมการกองทุนฯและคณะอนุกรรมการ LTC

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. มีการดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ในชุมชน  หรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึง และ มีประสิทธิภาพ ๒. การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ที่เข้าร่วมประชุม ๒. จำนวนครั้งที่มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
2.00

 

2 ๒. เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนคณะอนุกรรมการ LTC ที่เข้าร่วมประชุม ๒. จำนวนครั้งที่มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ที่เข้าร่วมประชุม
0.00

 

3 ๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการ LTC
ตัวชี้วัด : ความพึงพอใจของต่อการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯและคณะอนุกรรมการ LTC
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 29
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ (2) ๒. เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ (3) ๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการ LTC

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ ๑ (2) ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ (3) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ ๒ (4) จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๑ (5) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ ๓ (6) จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๒ (7) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ ๔ (8) จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ ๓ (9) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ ๕ (10) กิจกรรมการประชุม เดินทางไปราชการ ของคณะกรรมการกองทุนฯและคณะอนุกรรมการ LTC

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7574-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวภัทรียา บุญน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด