กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเยาวลักษณ์ บุญตามชู




ชื่อโครงการ อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 15 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 210,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ ทำให้ประชาชนเจ็บป่วย และตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกกันว่าโรควิถีชีวิตมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง นอกจากนี้การเปลี่ยนของสภาพแวดล้อมส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อ โดยเฉพาะ โรคโควิด -19 ซึ่งการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อหรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้น ส่งผลกระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศ การแก้ไขปัญหาสุขภาพจำเป็นต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ทักษะในการดูแลตนเองของผู้เจ็บป่วย และบุคคลในครอบครัว ซึ่งมิใช่เพียงหน้าที่ของทีมสุขภาพที่ดูแลผู้ป่วยเท่านั้น ยังต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งแกนนำสุขภาพในชุมชน ซึ่งนับว่าเป็นกำลังสำคัญในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขเชิงรุก เนื่องจากเป็นบุคลากรสาธารณสุขภาคประชาชน ที่สามารถเข้าถึงชุมชนได้เป็นอย่างดี เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ จึงเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง ในการนำความรู้ ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496  แก้ไขถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 มาตรา 50 (7)  มาตรา53 (1) มาตรา 56 (1) เทศบาลมีหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตําบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง (10) การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส มาตรา ๑๖ (๑๙ ) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีการป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ โดยให้บริการประชาชนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน เทศบาลนครหาดใหญ่จึงตระหนักในการพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพให้มีความพร้อมในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านจิตสังคม และด้านจิตวิญญาณ เพื่อให้สามารถดูแลประชาชนในชุมชนที่รับผิดชอบให้มีความครอบคลุมในทุกมิติ เนื่องจาก แกนนำสุขภาพของเทศบาลนครหาดใหญ่ที่มีอยู่นั้นมีความสามารถและแสดงบทบาทในกิจกรรมที่ทำได้สำเร็จในช่วงระยะเวลาสั้นๆได้เป็นอย่างดี เช่น การให้ความรู้ การแจ้งข่าวสารแก่ประชาชน การรณรงค์เพื่อป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล การสำรวจข้อมูลหมู่บ้าน แต่ในปัจจุบันแกนนำสุขภาพนั้นต่างมีหน้าที่ ความรับผิดชอบต่องานประจำที่หลากหลาย รวมถึงการดูแลบุคคลในครอบครัว ประกอบกับหน่วยบริการสาธารณสุขมีความคาดหวังให้แกนนำสุขภาพ มีเวลา และความต่อเนื่องในการปฏิบัติงานดังกล่าว หากแกนนำสุขภาพรับการพัฒนา ส่งเสริมศักยภาพอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสร้างแรงจูงใจ เช่น การเข้ารับการอบรม การสัมมนา การสอนงานที่เหมาะสม หรือการศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จะเป็นการสร้างศักยภาพของแกนนำสุขภาพให้มีคุณภาพ มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม สู่การพึ่งพาตนเอง และสามารถทำงานตามเป้าหมายที่เทศบาลนครหาดใหญ่กำหนดไว้ได้

      ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการอบรม  แกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีกระบวนการที่มุ่งเน้นให้ แกนนำสุขภาพสามารถสำรวจสุขภาพใจ ปัจจัยของคนในชุมชน การร่วมมือ และชวนสร้างมาตรการในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคอุบัติใหม่ ตลอดจนการสร้างแผนงานชุมชน ให้ปลอดภัยจากโรคอุบัติใหม่ เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถ และส่งผลให้ครอบครัว เพื่อนบ้าน และชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ
  2. เพื่อเป็นการส่งเสริมแกนนำสุขภาพให้มีการฝึกทักษะการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  3. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการวิคราะห์ชุมชน รวมถึงการจัดการสุขภาพในชุมชน
  4. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่
  5. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนมีนาคม 2564
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนเมษายน 2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ

  2. แกนนำสุขภาพให้มีการฝึกทักษะการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

  3. แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการวิเคราะห์ชุมชน รวมถึงการจัดการสุขภาพในชุมชน

  4. แกนนำสุขภาพได้มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่

  5. ประชาชนในพื้นที่ได้มีความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และยั่งยืน โดยสอดคล้องกับชีวิตวิถีใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนมีนาคม 2564

วันที่ 23 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพแนพื้นที่แบบแบ่งเขต -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -นำเสนอปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ -แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการจัดการสุขภาพในชุมชน -แกนนำสุขภาพได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 350 คน

 

350 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนมีนาคม 2564

วันที่ 23 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพแนพื้นที่แบบแบ่งเขต -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -นำเสนอปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ -แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการจัดการสุขภาพในชุมชน -แกนนำสุขภาพได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่

 

350 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนเมษายน 2564

วันที่ 16 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพแนพื้นที่แบบแบ่งเขต -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -นำเสนอปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ -แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการจัดการสุขภาพในชุมชน -แกนนำสุขภาพได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 350 คน

 

350 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ก่อน-หลังอบรบ
0.00

 

2 เพื่อเป็นการส่งเสริมแกนนำสุขภาพให้มีการฝึกทักษะการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 60 มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
0.00

 

3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการวิคราะห์ชุมชน รวมถึงการจัดการสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 70 สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
0.00

 

5 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการในระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ทันต่อสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ (2) เพื่อเป็นการส่งเสริมแกนนำสุขภาพให้มีการฝึกทักษะการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (3) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีทักษะในการวิคราะห์ชุมชน รวมถึงการจัดการสุขภาพในชุมชน (4) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพได้มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (5) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนมีนาคม 2564 (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำเดือนเมษายน 2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมแกนนำสุขภาพ สร้างสุขส่งต่อชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเยาวลักษณ์ บุญตามชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด