กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล

ชื่อโครงการ เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 15 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 437,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นพาหะนำโรคสู่มนุษย์ได้หลายโรค เช่น หนู นำโรคพิษสุนัขบ้า โรคเลปโตส  ไปโรซิส โรคสครัปไทฟัส โรคหนอนพยาธิต่าง ๆ และโรคแบคทีเรีย แมลงสาบ นำโรคที่สำคัญ คือปล่อยสารก่อภูมิแพ้  ทำให้เป็นหอบหืด โรคจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตชัว และไวรัส ส่วนแมลงวันนำโรคอหิวาตกโรค เชื้อบิด    เชื้อไข้รากสาด เชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น เทศบาลนครหาดใหญ่ เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ มีการอาศัยอยู่ของประชาชนค่อนข้างหนาแน่นปัญหาที่สำคัญ คือ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน แหล่งชุมชนมีปริมาณค่อนข้างมาก การจัดสร้างอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ปัญหาจากการเกิดอุทกภัยและเหตุอื่น ๆ ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มปริมาณของสัตว์พาหะนำโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ไม่เพียงแต่ในชุมชมที่พบว่ามีหนูค่อนข้างชุกชุม แม้แต่ในตลาดซึ่งเป็นสถานที่จัดจำหน่ายสินค้า เป็นสถานที่ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายมาติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการ พบว่าความสะอาด    ของตลาด รวมถึงการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมยังไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดแหล่งรังโรคของสัตว์พาหะหลายชนิด โดยเฉพาะหนู เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ สำนักงานควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา ได้ลงดำเนินการสุ่มจับหนูภายในตลาดสด  เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้แก่ตลาดกิมหยง ตลาดพลาซ่า ๑,๒,๓ และตลาดทัวร์รัถการ จำนวนตัวอย่างหนู ๒๐๐ ตัว ทำการตรวจเลือด พบความชุกของโรคฉี่หนูคิดเป็นร้อยละ ๒๕ ซึ่งถือว่ามีอัตราเสี่ยงสูงในการนำโรคฉี่หนู มาสู่ประชาชนที่ใช้ชีวิตประจำวันในบริเวณที่เสี่ยง ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค ได้จัดทำโครงการ“เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู” มาอย่างต่อเนื่อง และผลจากการเฝ้าระวังสถานการณ์ การเกิดโรค พบว่าปี พ.ศ.๒๕๕๙ พบผู้ป่วย ๑๔ ราย ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พบผู้ป่วย ๑๑ ราย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วย ๑๒ ราย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยจำนวน 6 รายและตั้งแต่ 1 ม.ค.2563 ถึง 27 ต.ต.2563 พบผู้ป่วยจำนวน 7 ราย

  หนูเป็นสัตว์ที่มีการแพร่พันธุ์ค่อนข้างรวดเร็ว สามารถเพิ่มปริมาณได้ในระยะเวลาอันสั้น และเคลื่อนที่ไปหาอาหารตามจุดต่าง ๆ การดำเนินการควบคุมการแพร่พันธุ์ จึงต้องมีความต่อเนื่องและดำเนินการรณรงค์อย่าง    พร้อมเพรียง ในห้วงเวลาเดียวกัน จึงจะช่วยลดปริมาณหนูและลดการแพร่พันธุ์ รวมทั้งการสร้างจิตสำนึกเรื่องความสะอาดหลังการดำเนินการกำจัดหนู จะช่วยลดแหล่งอาหารและแหล่งแพร่พันธุ์ของหนูลงได้   จากรายงานผลการเฝ้าระวังสถานการณ์ของโรค แม้จะพบว่ามีผู้ป่วยแต่ละปีจำนวนน้อยและไม่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง แต่พบผู้ป่วยทุกปีและหนูได้สร้างความเดือดร้อนรำคาญให้กับประชาชน ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อชุมชน ตลาดและแหล่งท่องเที่ยว ดังนั้นฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค จึงจัดทำโครงการ “เฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู”ขึ้น เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้ปลอดจากโรค รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์ของตลาดสดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่และช่วยให้ประชาชนมีความมั่นใจในความสะอาดและปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะ


ทั้งนี้งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ในการกำจัดหนู ใช้กรณีงบประจำที่ตั้งไว้ไม่เพียงพอในการดำเนินงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
  2. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาร่วม ป้องกันและกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ
  4. เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ๋
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องหนูและโรคฉี่หนูแก่ประชาชน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาดสด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการเกิดโรคจากหนูเป็นพาหะนำโรคลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ

  2. ประชาชนและผู้ประกอบการเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนความรู้และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และกำจัดสัตว์นำโรค

  3. ประชาชนไม่เดือดร้อนรำคาญจากการที่หนูเข้าไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญในบ้าน ในร้านค้าและในตลาด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ๋

วันที่ 15 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขออนุมัติจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ยาเบื้อหนู) และ จัดซื้อถุงมือยางชนิดใช้แล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  อัตราการเกิดโรคจากหนูเป็นพาหะนำโรคลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ           ๒.  ประชาชนและผู้ประกอบการเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจน               ความรู้และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และกำจัดสัตว์นำโรค
          ๓.  ประชาชนไม่เดือดร้อนรำคาญจากการที่หนูเข้าไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญในบ้าน
    ในร้านค้าและในตลาด

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนู
0.00

 

2 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาร่วม ป้องกันและกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีความตระหนักเรื่องโรคที่มีหนูเป็นพาหะและให้ความร่วมมือ ในการป้องกันและกำจัดหนู
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ โดยการประเมินเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรค
0.00

 

4 เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : อัตราส่วนการเกิดโรคฉี่หนูลดลงร้อยละ ๒๐ เปรียบเทียบย้อนหลัง ๓ ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค      โดยประชาชนมีส่วนร่วม (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาร่วม    ป้องกันและกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ (4) เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ๋ (2) อบรมให้ความรู้เรื่องหนูและโรคฉี่หนูแก่ประชาชน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาดสด  ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด