กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8402-3-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L8402-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นบุคลากรที่สำคัญและเป็นกำลังของชาติ หากเด็กมีปัญหาด้านสุขภาพเจ็บป่วยบ่อย อนาคตของชาติก็จะอ่อนแอและมีปัญหาตามมาได้ ดังนั้นการทำให้เด็กมีสุขภาพดี ร่างกาย จิตใจ และสมองได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม โดยการส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันควบคุมโรคภัยต่างๆที่อาจเกิดขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ทำให้เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายและติดต่อระหว่างกันได้ง่ายเมื่อเด็กเจ็บป่วย เด็กเล็กเป็นช่วงอายุที่อยู่ระหว่างการพัฒนาของร่างกาย จิตใจและสมอง นอกจากนี้ยังเป็นช่วงที่ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำ ส่งผลให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่ายและพบได้บ่อย โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก โรคหวัด โรคมือ เท้า ปาก และโรคที่กำลังแพร่ระบาดมากในช่วงนี้เป็นโรคที่กำลังพบใหม่คือโรคไวรัส RSV ซึ่งการเจ็บป่วยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก
ซึ่งจากข้อมูลปีที่ผ่านๆมา ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจุ้มปะ ได้พบเด็กที่เป็นโรค มือ เท้า ปาก และโรคหวัด เกิดขึ้นทุกปี ดังนั้นการป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการลดและสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ รวมทั้งการมีสิ่งแวดล้อมที่ดีก็เป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันโรคติดต่อได้เช่นเดียวกัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจุ้มปะ เล็งเห็นความสำคัญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดแนวทางดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้เด็กเล็กที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมและเฝ้าดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เพื่อส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเองให้แก่เด็กเล็ก
  4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชุมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็ก
  2. กิจกรรมการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพแก่เด็กเล็กทุกวัน
  3. กิจกรรมการทำความสะอาดห้องเรียนและของเล่นทุกสัปดาห์
  4. กิจกรรมเสริมทักษะให้แก่เด็กเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 99
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี 2.ร้อยละ100 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กบ้าน จุ้มปะได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ 3.ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง 4.เด็กเล็กมีภาวะฟันผุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิธีการดำเนินโครงการ 1.ขั้นเตรียมการ   1.1 สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อยในเด็กเล็ก   1.2 จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ   1.3 ขออนุมัติโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคูหาใต้   1.4 ประชุมครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจุ้มปะเพื่อเตรียมการและกำหนดกิจกรรมดำเนินการ 2.ขั้นดำเนินการ   2.1 จัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับโรคติดต่อได้แก่ โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคไวรัส RSV โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล   2.2 จัดกิจกรรมการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพแก่เด็กเล็กทุกวัน   2.3 จัดกิจกรรมการทำความสะอาดห้องเรียนและของเล่นทุกสัปดาห์   2.4 จัดกิจกรรมเสริมทักษะให้แก่เด็กเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค ดังนี้ ทักษะการล้างมือ ทักษะการแปรงฟัน การเลือกกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 3.ขั้นสรุปผล   3.1 ประเมินผลโครงการ   3.2 สรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรค ผลที่เกิดจากการดำเนินโครงการในเชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี 2.ร้อยละ 100 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจุ้มปะได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ 3.ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง 4.ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กมีฟันผุลดน้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี
80.00 80.00

ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กใน ศพด.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี

2 เพื่อส่งเสริมและเฝ้าดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กบ้าน จุ้มปะได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ
100.00 100.00

เด็กปฐมวัยใน ศพด.บ้านจุ้มปะ ได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ

3 เพื่อส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเองให้แก่เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง
80.00 80.00

เด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง

4 เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กมีภาวะฟันผุลดลง
80.00 80.00

เด็กเล็กมีฟันผุลดน้อยลง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204 171
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 99 99
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105 72
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมและเฝ้าดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) เพื่อส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเองให้แก่เด็กเล็ก (4) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็ก (2) กิจกรรมการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพแก่เด็กเล็กทุกวัน (3) กิจกรรมการทำความสะอาดห้องเรียนและของเล่นทุกสัปดาห์ (4) กิจกรรมเสริมทักษะให้แก่เด็กเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8402-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด