กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564 ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
จ่าสิบตำรวจสุรินทร์ สามานุง

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2536-4-01 เลขที่ข้อตกลง 64-L2536-4-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2536-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้คระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลปูโยะ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
  2. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบและองค์กรผู้รับทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ
  2. ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ
  3. ค่าตอบแทนพี่เลี้ยงกองทุนฯ
  4. จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน
  5. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 27

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
2.สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการกองทุน

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน  5 มื้อๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 400 บาท ค่าพาหนะ 660 บาท ค่าที่พัก 1600 บาท รวมเป็นเงิน 2660 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบให้มีศักยภาพที่ดีขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมจากการอบรม

 

0 0

2. จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เหล็กหนีบดำ NO.108 จำนวน 24 อันๆ ละ 8 บาท เป็นเงิน 192 บาท เหล็กหนีบดำ NO.109 จำนวน 24 อันๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 120 บาท เครื่องเจาะรูกระดาษ 2 รู (ตาไก่)E’SY E-020 จำนวน 1 อันๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 120 บาท แฟ้มก้านยกช้าง 3 นิ้ว จำนวน 12 อัน ๆ ละ 95 บาท เป็นเงิน 1,140 บาท แฟ้มเสนอเซ็นต์ปกหนังเทียม จำนวน 2 เล่มๆ ละ 260 บาท เป็นเงิน 520 บาท กระดาษถ่ายเอกสาร A4 70แกรม QUALITY ห่อส้ม จำนวน 30 รีมๆ ละ 110 บาท เป็นเงิน 3300บาท กระดาษการ์ดสี A4 120 แกรม (180 แผ่น) จำนวน 4 รีมๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 600 บาท เครื่องคิดเลข CASIO GX-12B จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 880 เป็นเงิน 880 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อใช้การบริหารจัดการกองทุนในด้านเอกสารต่างๆ เช่น การเบิกจ่าย การจดรายงานการประชุม การทำสื่อในการนำเสนอ เป็นต้น เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุน

 

0 0

3. ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ

วันที่ 16 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอนุกรรมการ ครั้งที่1 ประชุมอนุกรรมการ ครั้งที่2 ประชุมอนุกรรมการ ครั้งที่3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่ออนุมติโครงการและการจัดการกองทุน

 

7 0

4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

วันที่ 16 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกรรมการกองทุน ครั้งที่1 ประชุมกรรมการกองทุน ครั้งที่2 ประชุมกรรมการกองทุน ครั้งที่3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่ออนุมัติโครงการและแจ้งความเคลื่อนไหวของโครงการต่างๆ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %
0.00

 

2 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปูโยมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบและองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบและองค์กรผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 27

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ (2) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ (3) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบและองค์กรผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (2) ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ (3) ค่าตอบแทนพี่เลี้ยงกองทุนฯ (4) จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน (5) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการกองทุน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประจำปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2536-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( จ่าสิบตำรวจสุรินทร์ สามานุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด