กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่


“ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายโยธิน นันทวิสุทธิิ์

ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2981-1-01 เลขที่ข้อตกลง 013/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2981-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้านม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในสตรีไทย สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papi;lloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้มีโอการสติดเชื้อหรือง่ายขึ้น เช่น การมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ เมื่ออายุยังน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตรการเสียชีวิตเกินครึึ่งหนึ่งเลยทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้หญิงไทยทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คน โดยมีสถิตืของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน แต่โรรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความเป็นไปได้ในการกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระระเริ่มแรก หรือระยะก่อนเป็นมะเร็ง ปัญหาสำคัญคือคนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการรักษษให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาประดู่ได้เหห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap smear เพราะเป็นวิธีที่ตรวจง่ายใช้เวลาไม่นาน และเสียค่าใช้จ่ายไม่มากเมื่อเทียบกับค่ารักษาพยาบาลกรณีที่มีการเจ็บป่วย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพือ่ให้สตรีกลุ่ม 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 20 ผ่านเกณฑ์ ในปี 2563 กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 700 คน ต้องได้รับการตรวจผ่านร้อยละ 20 จำนวน 140 คน ผลจากการคัดกรอง พบมีการอักเสบ 22 ราย มีเชื้อรา 14 ราย ติดเชื้อแบคทีเรีย 6 ราย ในรายที่มีการอักเสบและติดเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ได้ให้ยาตามแพทย์สั่ง ส่วนรายที่มีการอักเสบได้นัดตรวจซ้ำอีก 6 เดือนหลังได้รับยา การคัดกรองมะเร็งเต้านมไม่พบในรายที่ผิดปกติ ในปี 2564 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 715 คนต้องได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 20 คิดเป็น 143 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม
  3. สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็จปากมดลูกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
  4. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
  2. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. สตรีวัยเจริญพันธ์อายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  3. สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ที่พบมีความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา ที่ถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

3 สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็จปากมดลูกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็จปากมดลูกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
0.00

 

4 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม (3) สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็จปากมดลูกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2981-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโยธิน นันทวิสุทธิิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด