กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายภัคพงศ์ ดำแก้ว




ชื่อโครงการ ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 15 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 134,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน กิดจากการกระทำกิจกรรมของมนุษย์ที่โต๊กระทำมาตั้งแต่เริ่มปฏิวัติ อุตสาหกรรม การพัฒนาเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพจึงทำให้ทรัพยากรลดลงอย่างรวดเร็วการเพิ่มขึ้น ของประชากรมนุษย์อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ผลกระทบใหญ่ที่มีต่อมนุษย์และ สังคม ได้แก่ ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้ำท่วม และปัญหาภาวะโลกร้อน อีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันมีความรีบเร่งใน การทำมาหากินเพื่อความอยู่รอดทำให้เกิดการละเลยอาใจใส่ในการเลือกผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวันส่งผลให้เกิดความ เสี่ยงในการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน จึงขาดความตระหนักในการเลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ซึ่งนอกจากจะทำให้เกิด อันตรายต่อชีวิตแล้ว ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตฐานบางชนิดยังเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ดังนั้น การปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เยาวชนคือทรัพยากรมนุษย์ที่สังคมได้กำหนดบทบาท และความคาดหวังว่จะเป็นบุคลากรที่มีวุฒิภาวะพร้อมทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา เพื่อที่จะนำความรู้ความสามารถต่างๆ มาพัฒนาประเทศชาติในอนาคต รวมถึงการเป็น ผู้มีบทบาทสำคัญในการช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรรรมชาติ ตามวุฒิภาวะที่พึงกระทำได้ สำนักการสาธารณสุขและสิ่แวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญของเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการค่ายเยาวชนพิทักษ์ สิ่งแวดล้อม ขึ้น เพื่อปลูกจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ คือแนวทางในการจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งสริมให้เยาวชนได้มี โอกาสมาใช้ชีวิตในระยะเวลาหนึ่งร่วมกับเพื่อนๆ โดยผ่านกระบวนการ กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาที่จัดขึ้น ตลอดระยะเวลา ในการทำกิจกรรมเยาวชนจะมีโอกาสได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และตระหนักถึงปัญหา สิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้ก่อขึ้น เพื่อที่เยาวชนจะได้ร่วมกันหาแนวทางที่จะช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมฯ ให้คงอยู่ ตลอดไป โดยมีการนำเสนอและสะท้อนความคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น ฝึกฝนการปรับตัว และรู้จักที่จะยอมรับความคิดเห็นขอผู้อื่่น ซึ่งจะเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติของคนในสังคม ณ สภาวะการณ์ที่โลกมีประชากรเพิ่มขึ้น แต่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัดโดยเฉพาะปัญหาเรื่องโลกร้อนในปัจจุบัน ที่ทุกหน่วยงาน ทั้งในประเทศ และในโลกต่างตระหนักกับผลที่กำลังเกิดขึ้นและพยายามหาทางร่วมมือกันแก้ไข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรอย่างเป็นระบบ รักและหวงแหนในความงดงาม ของธรรมชาติ
  2. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ร่วมกันช่วยป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่อง ปรากฎการณ์โลกร้อนที่เกิดขึ้นและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขในระดับ นักเรียน
  3. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน ให้เยาวชนได้ เสนอ และสะท้อนความคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อมผ่านการทำ กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
  4. เพื่อให้เป็นจุดเริ่มต้นให้เยาวชนสามารถรวมกลุ่ม เพื่อเผยแพร่ และสร้างสรรค์กิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมฯ ตามวุฒิภาวะที่พึงกระทำได้ และใช้เวลาว่างช่วงปิดภาคเรียนให้เป็นประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี และเล็งเห็นถึงการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม และให้ความ ช่วยเหลือนักท่องเที่ยว รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมฯที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบในระดับที่เยาวชนสามารถ กระทำด้วยตนเองได้
    2. เยาวชนได้เสนอและสะท้อนความคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ผ่านการทำกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
    3. เยาวชนสามารถรวมกลุ่มเพื่อเผยแพร่และสร้างสรรค์กิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมฯตามวุฒิภาวะที่พึง กระทำได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรอย่างเป็นระบบ รักและหวงแหนในความงดงาม ของธรรมชาติ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ร่วมกันช่วยป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่อง ปรากฎการณ์โลกร้อนที่เกิดขึ้นและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขในระดับ นักเรียน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน ให้เยาวชนได้ เสนอ และสะท้อนความคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อมผ่านการทำ กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อให้เป็นจุดเริ่มต้นให้เยาวชนสามารถรวมกลุ่ม เพื่อเผยแพร่ และสร้างสรรค์กิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมฯ ตามวุฒิภาวะที่พึงกระทำได้ และใช้เวลาว่างช่วงปิดภาคเรียนให้เป็นประโยชน์
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรอย่างเป็นระบบ รักและหวงแหนในความงดงาม ของธรรมชาติ (2) เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ร่วมกันช่วยป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่อง ปรากฎการณ์โลกร้อนที่เกิดขึ้นและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขในระดับ นักเรียน (3) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน ให้เยาวชนได้ เสนอ และสะท้อนความคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อมผ่านการทำ กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน (4) เพื่อให้เป็นจุดเริ่มต้นให้เยาวชนสามารถรวมกลุ่ม เพื่อเผยแพร่ และสร้างสรรค์กิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมฯ ตามวุฒิภาวะที่พึงกระทำได้ และใช้เวลาว่างช่วงปิดภาคเรียนให้เป็นประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ค่ายเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7258-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายภัคพงศ์ ดำแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด