กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ปี 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน
วันที่อนุมัติ 30 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 106,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอากร คงเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ นายกำพล เศรษฐสุข
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภัยเงียบของโรคเมตะบอลิก (โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง) ได้คุมคามชีวิตคนไทยจำนวนมากซื่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิตตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณ ด้านการดูแลสุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาตค การรมีมาตรการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและแก้ปัญหาโรคเมตะบอลิกโดยการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ด้วยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและเจาะคัดกรองน้ำตาลในเลือดเพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและการค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโดยมุ่งหวังในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองด้ กลุ่มสงสัยป่วยด้รับการส่งต่อเพื่อคัดกรองโรคขั้นสูงต่อป
  จากข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2561 - 2563 มีแนวโน้มสูงขึ้น คือร้อยละ 95 93.93 และ 96.77 ตามลำดับ ส่วนกลุ่มป่วยรายใหม่พบว่ามากขึ้นเช่นกัน คือ อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจากกลุ่มเสี่ยง 2.78 3.85 และ 3.88 ตามลำดับ อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานจากกลุ่มเสี่ยง 2.15 3.32 และ 3.16 ตามลำดับ ส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยเรื้อรังเพื่มมากขึ้นทุกปี ดังนั้นแม้การคัดกรองสภาวะสุขภาพจะเพอ่มขึ้น แต่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มส่งสัยป่วยยังสูงขึ้นตามเช่นกัน
  การติดตามกลุ่มสงสัยป่วยอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการให้คำแนะนำ ความรวมมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพเบื้องต้นการคัดกรอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเยี่ยมบ้านเพื่อเฝ้าระวังและป้องปรามยังเป็นสิ่งจำเป็น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนด้รับการคัดกรองสุขภาพ

ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นป ด้รับการตรวจคัดกรอง

1.00
2 2.เพื่อจำแนกกลุ่มตามสภาวะสุขภาพและให้การดูแลตามมาตรฐานของแต่ละกลุ่ม

ประชาชนที่คัดกรองมีการจำแนกกลุ่ม และด้รับการดูแลตามมาตรฐาน ร้อยละ 90

1.00
3 3.เพื่อให้ประชาชนที่คัดกรองแล้วมีความผิดปกติด้รับการดูแลและส่งต่อตามความเหมาะสม

กลุ่มเสี่ยงด้รับการส่งต่อ ร้อยละ 90

1.00
4 4.กลุ่มสงสัยป่วยด้รับการเยี่ยมบ้าน

ร้อยละ 100 ของกลุ่มสงสัยป่วยและกลุ่มป่วยรายใหม่้รับการเยี่ยมบ้าน

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 2050 106,900.00 0 0.00
1 - 31 พ.ค. 64 1.การคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2,000 40,800.00 -
1 - 31 ก.ค. 64 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 50 36,200.00 -
1 - 30 ก.ย. 64 3.การติดตามเยี่ยมบ้าน 0 29,900.00 -

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ กิจกรรมที่ 1 การคัดกรอง
1.ประชุมทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกันวางแผนและมอบหมายหน้าที่
2.ประชาสัมพันธ์การคัดกรองผ่านสื่อบุคคลและเสียงตามสายในหมู่บ้าน
3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ นัดกลุ่มเป้าหมาย
4.ทบทวนความรู้และแนวทางในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
5.ดำเนินการคัดกรอง และแจ้งผลให้ทราบรวมทั้งแนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังทราบผล
6.จำแนกกลุ่มที่คัดกรองได้ออกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย
7.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย ส่งต่อไปยังสถานบริการสาธารณสุขกลบ้าน
8.กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้นำเครื่องวัดความดันโลหิตปวัดเองท่บ้าน 1 สัปดาห์
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
1.จำแนกกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิดสูง สอบถามผู้ที่สมัครใจเข้ารับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพ แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน โดยอบรมหลักสูตร 1 วัน ม่พักค้างคืน
2.ประสานวิทยากร และสถานที่จัดอบรม
3.ดำเนินการจัดอบรม กิจกรรมที่ 3 การเยี่ยมบ้าน ย่องครัว
1.เยี่ยมบ้านย่องครัว กลุ่มสงสัยป่วยที่เข้าร่วมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทุกคน หลังจากอบรม 1 เดือน พร้อมติดตามพฤติกรรมเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด การดื่มเหล้า/สูบบุหรี่ 2.ตรวจปริมาณเกลือโซเดียมที่มีในอาหาร อย่างน้อย 1 ตัวอย่าง พร้อมเก็บข้อมูล
3.คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตซ้ำ หากกลายเป็นกลุ่มป่วยส่งต่อให้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลปากพะยูนต่อป
4.ติดตามการปรักษาต่อเนื่องของผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงใหม่
กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน 1.ร้อยละของการคัดกรองเบาหวานปละความดันโลหิตสูง
2.ร้อยละกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย
3.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงด้เป็นกลุ่มป่วย
4.ร้อยละกลุ่มป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อ และดูแลที่เหมาะสม
5.ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยด้รับการเยี่ยมบ้าน
6.ทำการวิเคราะห์ผลการตรวจเกลือโซเดียมที่มีในอาหารที่มีผลต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือม่

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ม.ค. 2564 15:56 น.