กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564 ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอดียะห์ ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L-3057-1-06 เลขที่ข้อตกลง 4/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L-3057-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำหรับสถานการณ์โรคโคโรนาไวรัส COVID-19 เป็นปัญหาสำคัญชองโลก เป็นโรคติดต่อร้ายแรงอันดับที่ 14 ส่งผลให้คนเสียชีวิตเป็นอันมากในต่างประเทศ ข้อมูลณ วันที่ 22 ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วยติดเชื้อรวม 77,715,069 คน อันดับประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสูงสุด คือ 1.สหรัฐอเมริกา จำนวน 18,473,716 ราย 2.อินเดีย จำนวน 10,075,422 ราย 3.บราซิล จำนวน 7,264,221 ราย     ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 143 จำนวน 5,716 ราย     ปัจจุบันประเทศไทยเกิดการติดเชื้อโควิทพุ่งอีก 427 ราย เป็นแรงงานต่างด้าว 397 ราย ติดในประเทศ 16 รายเชื่อมโยงตลาดกุ้ง มาจากต่างประเทศอยู่ในที่กักกัน 14 ราย     ศูนย์บำบัดควบคุมโรคเผยพบผู้ติดเชื้อโควิท-19เพิ่ม 427 ราย ตรวจเชิงรุกแรงงานต่างด้าวสมุทรสาคร 397 รายติดเชื้อในประเทศ 16 ราย มาจากต่างประเทศอยู่ในที่กักกัน 14 ราย ยอดสะสมเพิ่มเป็น 5,716 ราย รักษาหาย 25 ราย เหลือกำลังรักษาในโรงพยาบาล-หอพัก 1,578 ราย ส่วนยอดผู้เสียชีวิตสะสม 60 ราย     จากสถานการณ์การเกิดโรคโควิทระลอกใหม่นี้ทางกระทรวงสาธารณสุขได้มีมาตรการให้เจ้าหน้าที่และหน่วยงานอื่นๆให้มีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด COVID-19 อย่างเข้มข้น
    กรณีมีอาการต้องสงสัย     - สายด่วน 1669 เพื่อให้รถพยาบาลไปรับผู้ป่วย     - แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใกล้บ้าน     - รับการตรวจที่จุดคัดกรอง สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน     (โรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง)     ด้วยเหตุนี้องค์กรทุกระดับในพื้นที่ต้องตระหนักและเร่งแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น ให้ความสำคัญในการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์โรคอย่างใกล้ชิด ระดมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีผู้ป่วยรายใดมีอาการรุนแรงจนเข้าสู่ภาวะช๊อคหรือเสียชีวิตจากโรคโคโรนาไวรัสก็ตาม ในการดำเนินงานควบคุมโคโรนาไวรัส นั้น ประชาชนยังขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ประชาชนขาดความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการระบาดของโรค ไม่ให้ความสำคัญในการแพร่กระจายของโรคอย่างเหมาะสม ประชาชนขาดความตระหนักที่จะเฝ้าระวังโรค ไม่เห็นความสำคัญและไม่สร้างนิสัยในการควบคุมป้องกันตัวเองอย่างต่อเนื่อง จากที่กล่าวมานับเป็นปัญหาและอุปสรรคที่เจ้าหน้าที่ทุกระดับที่เกี่ยวข้อง ต้องเร่งระดมความคิดในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคและการดำเนินงานในเรื่องนี้ ทำให้จำเป็นที่จะต้องมีการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่องและเข้มแข็งต่อไป ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาเลาะจึงได้ทำโครงการนี้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพของคน ชุมชน ตลอดจนถึงควบคุมป้องกันโรคโคโรนาไวรัส COVID-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
  2. 2.เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา COVID-19
  3. 3.เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ต่อตนเองและผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา COVID-19 อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง     2. สามารป้องกันการแพร่กระจายของโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ต่อตนเองและผู้อื่นได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคโรคไวรัสโคโรนา อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ร้อยละ100
    0.00

     

    2 2.เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา COVID-19
    ตัวชี้วัด : เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา ให้น้อยลง หรือไม่ให้เกิด
    0.00

     

    3 3.เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ต่อตนเองและผู้อื่นได้
    ตัวชี้วัด : เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไวรัสโคโรนา ต่อตนเองและผู้อื่นได้
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19  อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง (2) 2.เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 (3) 3.เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไวรัสโคโรนา COVID-19  ต่อตนเองและผู้อื่นได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ระบาดระลอกใหม่ ในชุมชนบ้านบาเลาะ ตำบลปะเสยะวอ ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L-3057-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอดียะห์ ยูโซะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด