กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L3068-10(1)-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา
วันที่อนุมัติ 24 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 98,330.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวคัสรีนา ดุลย์ธารา
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวซำซียะห์ ดือราแม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ม.ค. 2564 28 ม.ค. 2564 98,330.00
รวมงบประมาณ 98,330.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทยปีพ.ศ.2562 มีผู้ป่วยจำนวน 81,500 ราย และมีผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 89 รายในจังหวัดปัตตานีได้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้วจำนวน 1,040 ราย โดยในตำบลบางตาวา ในปัจจุบัน ตั้งแต่เดือนมกราคม – ตุลาคม 2563 มีจำนวนผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก จำนวน 2 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา ได้เล็งเห็นความสำคัญดำเนินการควบคุมและการป้องกันโรคที่เข้มแข็งและมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการประสานความร่วมมือกับชุมชนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของส่วนราชการ องค์กรท้องถิ่นและชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ด้วยโรคไข้เลือดออก

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินร้อยละ 250 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0

2.00 0.00
2 เพื่อลดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ค่า HI (House Index) ไม่เกินร้อยละ 10 ค่า CI (Container Index) ไม่เกินร้อยละ 0

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 3910 98,330.00 6 98,330.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย มีการสื่อสารและประชาสัมพันธ์มาตรทางสังคม 3,780 79,480.00 79,480.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 จัดกิจกรรมประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 40 5,800.00 5,800.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 ประชุมชี้แจ้งคืนข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกร่วมกับภาคีเครือข่าย 20 2,900.00 2,900.00
1 พ.ค. 64 - 1 มิ.ย. 64 กิจกรรม ประชุมชี้แจงเพื่อนำเสนอมาตรการทางสังคมในเวทีประชาคม 30 4,350.00 4,350.00
1 พ.ค. 64 - 30 มิ.ย. 64 กิจกรรมคณะกรรมการประกวดคัดเลือก บ้านสะอาด ปราศจากยุงลาย 10 1,450.00 1,450.00
28 ก.พ. 65 ประชุมถอดบทเรียนคัดเลือกบ้านสะอาด ปราศจากยุงลาย 30 4,350.00 4,350.00
  1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำโครงการ.
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางตาวาเพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต. โรงเรียน ชุมชน รพ.สต. และอื่นๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ
  4. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.และภาคีเครือข่าย
  5. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกโดยทางเสียงตามสาย ที่มัสยิด
  6. จัดกิจกรรมประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
  7. รณรงค์ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  8. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข
  9. ดำเนินการพ่นหมอกควัน 10.แกนนำประจำครอบครัวสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตัวเองทุกสัปดาห์ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ 11.คัดเลือก “บ้านสะอาด ชีวีมีสุข”
  10. สรุป ประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงและไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
  2. ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  3. มีบ้านสะอาด ชีวีมีสุข เป็นต้นแบบและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ม.ค. 2564 12:43 น.