กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการรณรงค์การฉีดวัคซีนในเด็กวัย 0-5 ปี (วัคซีนเพื่อลูกรัก) ”

ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นส.ฟาดีละห์ กาเดร์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์การฉีดวัคซีนในเด็กวัย 0-5 ปี (วัคซีนเพื่อลูกรัก)

ที่อยู่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2999-01-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์การฉีดวัคซีนในเด็กวัย 0-5 ปี (วัคซีนเพื่อลูกรัก) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การฉีดวัคซีนในเด็กวัย 0-5 ปี (วัคซีนเพื่อลูกรัก)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 0-5 ปี ร้อยละ 90 (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ การดำเนินโครงการมีดังนี้ 1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี 2. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต.กระเสาะ เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ประชุมอสม.เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน โครงการวัคซีนเพื่อลูกรัก 4. อสม.ติดตาม และนำส่งเด็กที่ไม่มารับวัคซีนในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ที่รพ.สต.กระเสาะ 5. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุกในรายที่ อสม.ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมารับบริการที่ รพ.สต.กระเสาะ 6. อสม.มีการแจกสื่อแผ่นพับตามบ้านพร้อมอธิบายเรื่องวัคซีนให้ผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี 7. อบรมให้ความรู้เรื่องการเสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 90 คน 8. มีกิจกรรมแจกของที่ระลึกเมื่อเด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อเป็นแรงกระตุ้นต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะ อ.มายอ จ.ปัตตานี ในรอบปี 2563 ปรากฎว่าเด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นอัตราร้อยละ 36.54 เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิดคิดเป็นอัตราร้อยละ 29.87 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ว่าเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนคลอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 90 ยกเว้นวัคซีน หัด หัดเยอรมัน คางทูม ร้อยละ 95 ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนจากรายงานอัตราความคลอบคลุม มีความจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนกลุ่มอายุดังกล่าวไปอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 0-5 ปี ร้อยละ 90
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กอายุ 0-5 ปี ทุกคนได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑื
    2. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีคนในเด็ก 0-5 ปี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินโครงการมีดังนี้ 1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี 2. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต.กระเสาะ เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ประชุมอสม.เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน โครงการวัคซีนเพื่อลูกรัก 4. อสม.ติดตาม และนำส่งเด็กที่ไม่มารับวัคซีนในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ที่รพ.สต.กระเสาะ 5. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุกในรายที่ อสม.ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมารับบริการที่ รพ.สต.กระเสาะ 6. อสม.มีการแจกสื่อแผ่นพับตามบ้านพร้อมอธิบายเรื่องวัคซีนให้ผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี 7. อบรมให้ความรู้เรื่องการเสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 90 คน 8. มีกิจกรรมแจกของที่ระลึกเมื่อเด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อเป็นแรงกระตุ้นต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 0-5 ปี ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด :
    0.00 60.00

     

    2 2. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :
    0.00 60.00

     

    3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด : 1. ความคลอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ 0-5 ปี 2. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง ร้อยละ 80 3. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ต้องผ่านการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และตะหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนร้อยละ 90
    0.00 60.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 0-5 ปี ร้อยละ 90 (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ การดำเนินโครงการมีดังนี้ 1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี 2. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต.กระเสาะ เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ประชุมอสม.เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน โครงการวัคซีนเพื่อลูกรัก 4. อสม.ติดตาม และนำส่งเด็กที่ไม่มารับวัคซีนในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ที่รพ.สต.กระเสาะ 5. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุกในรายที่ อสม.ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมารับบริการที่ รพ.สต.กระเสาะ 6. อสม.มีการแจกสื่อแผ่นพับตามบ้านพร้อมอธิบายเรื่องวัคซีนให้ผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี 7. อบรมให้ความรู้เรื่องการเสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 90 คน 8. มีกิจกรรมแจกของที่ระลึกเมื่อเด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อเป็นแรงกระตุ้นต่อไป

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์การฉีดวัคซีนในเด็กวัย 0-5 ปี (วัคซีนเพื่อลูกรัก) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L2999-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นส.ฟาดีละห์ กาเดร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด