กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวาน บ้านเกาะนางทอง ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายใบอะดุลย์ สวยงาม

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวาน บ้านเกาะนางทอง ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-03 เลขที่ข้อตกลง 02/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวาน บ้านเกาะนางทอง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวาน บ้านเกาะนางทอง ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดความตะหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) สาธิตการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ (3) กิจกรรมออกกำลังกาย (4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) ประเมินผลและสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจและศึกษาของชุมชน โดย อสม.หมู่ 8 บ้านเกาะนางทองร่วมกับนักศึกษาฝึกงานหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 ถึงวันที่ 1 ธันวาคม 2563 พบว่า ประชาชนหมู่ที่ 8 บ้านเกาะนางทอง ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 35.14 และจากการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายได้รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะนางนางคำและคลังข้อมูลสุขภาพ (HDC) พบว่ามีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (เป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป) จำนวน 244 คน มารับการคัดกรอง 244 คน คิดเป็นร้อยละ 100 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 54คน คิดเป็นร้อยละ 22.13เนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม

    จากข้อมูลเบื้องต้น กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 8 บ้านเกาะนางทองร่วมกับนักศึกษาฝึกงานฯ ได้จัดเวทีทำประชาคมกับผู้เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2563 ได้ข้อสรุปและมีมติร่วมกันเห็นควรให้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวานบ้านเกาะนางทองปีงบประมาณ 2564 ขึ้น โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะนางคำ เป็นเงิน 20,208 บาท (สองหมื่นสองร้อยแปดบาทถ้วน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดความตะหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. สาธิตการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
  3. กิจกรรมออกกำลังกาย
  4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  5. ประเมินผลและสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 54
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 30 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100
  2. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดความตะหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานมีความรู้และมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวาน ร้อยละ 85
0.00 100.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อโรคเบาหวานมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ(<110 mg)
0.00 53.70

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 54 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 54
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดความตะหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) สาธิตการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ (3) กิจกรรมออกกำลังกาย (4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) ประเมินผลและสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ สู้โรคเบาหวาน บ้านเกาะนางทอง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายใบอะดุลย์ สวยงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด