กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 ได้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค มาแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบ โดยการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด จำนวน 22 คน โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องและจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัยชุมชนในพื้นที่ จัดเมื่อวันที่........26..กุมภาพันธ์..2564..... 2. พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช.)โดยการอบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง โดยการอบรมให้ความรู้อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) จำนวน 1 ครั้ง และศึกษาเครื่องมือในการสำรวจ จัดเมื่อวันที่.......28...กุมภาพันธ์..2564........ 3. อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ   3.1 สำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยง (google form) ทำกิจกรรมเมื่อวันที่.............28..มีนาคม..2564......... มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรชาวสวนยางพารา จำนวน 60 คน ซึ่งจากผลการสำรวจมีเกษตรกรที่ความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา จำนวน คน รายละเอียดดังเอกสารแนบ 3.2 ประชุมสรุปผลการสำรวจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพในกลุ่มอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางพารา

  1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ........จากการสำรวจข้อมูลผู้ที่เป็นแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา มีมากกว่ากลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทำให้มีกลุ่มแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้รับการสำรวจข้อมูล......... แนวทางการแก้ไข (ระบุ).....จัดทำโครงการในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการสำรวจในโครงการนี้ ......

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
0.00 22.00 22.00

 

2 เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล
50.00 40.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (2) เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง (2) อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh