โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 เลขที่ข้อตกลง ..............................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เชื้อไวรัสโคโรน่า (CoVs) เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (single stranded RNA virus) ใน Family Coronaviridae มีรายงานการพบเชื้อมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1965 โดยสามารถติดเชื้อได้ทั้งในคนและสัตว์ เช่น หนู ไก่ วัว ควาย สุนัข แมว กระต่าย และสุกร ประกอบด้วยชนิดย่อยหลายชนิดและทำให้มีอาการแสดงในระบบต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (รวมถึงโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส; SARS CoV) ระบบทางเดินอาหาร ระบบประสาท หรือระบบอื่นๆ พบได้ทั่วโลก การติดเชื้อโคโรนาไวรัสอาจทำให้เกิดอาการในระบบทางเดินหายใจส่วนบนได้ถึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อโคโรนาไวรัสอาจสูงถึงร้อยละ 15 โดยพบเริ่มจากประเทศจีนแล้วแพร่กระจายไปทั่วโลก การติดเชื้อไวรัสโคโรน่าในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Coronaviruses) อาจทำให้เกิดอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกที่มีอาการรุนแรง อาจมีลักษณะของปอดอักเสบ (Pneumonia) หรือ หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็กโตอาจมีอาการของหอบหืด(Asthma) ส่วนในผู้ใหญ่ อาจพบลักษณะปอดอักเสบ (Pneumonia) หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) หรือการกลับเป็นซ้ำของโรคหอบหืดได้ และอาจทำให้เกิดอาการรุนแรงได้มากในผู้สูงอายุหรือผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการได้ในทุกอายุ และหากแสดงอาการมักพบร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น Rhinovirus, Adenovirus หรือเชื้ออื่นๆ การติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome; SAR CoV) จะพบมีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หรืออาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ แล้วมีอาการไอ และ
หอบเหนื่อยอย่างรวดเร็ว ซึ่งอัตราตายจะสูงขึ้นในผู้ป่วยสูงอายุ หรือมีโรคประจำตัว การติดเชื้อโคโรน่าไวรัสในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Coronaviruses) มักพบบ่อยในเด็กแรกเกิด และทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี หรืออาจพบในผู้ใหญ่ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบเชื้อได้แม้ผู้ป่วยไม่แสดงอาการ และไม่มีฤดูกาลการเกิดโรคที่แน่นอน วิธีการแพร่โรค : แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ หรือแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อโดยการ ไอ หรือจาม
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2564 พบว่าผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศ 152 ราย ติดเชื้อในแรงงานต่างด้าว (คัดกรองเชิงรุก) 577 ราย สถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ 16 ราย รักษาหายเพิ่มขึ้น 38 ราย กลับบ้านแล้ว 4,352 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 1 ศพ ยอดผู้เสียชีวิตรวม 65 ศพ ยอดผู้ป่วยยืนยันสะสม 8,439 ราย นับเป็นรายที่ 7,695 - 8,439 ประเทศไทย เป็นอันดับที่ 134 ของโลก โดยมีพื้นที่ควบคุมสูงสุด 28 จังหวัด พื้นที่ควบคุม 11 จังหวัด และพื้นที่เฝ้าระวังสูง 38 จังหวัด จังหวัดสตูลอยู่ในกลุ่มพื้นที่เฝ้าระวังสูงสุด เนื่องจากมีผู้ป่วยติดเชื้อฯ จำนวน 2 ราย และมีไทม์ไลน์ในการสัมผัสผู้คนในพื้นที่
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมากเนื่องจากเขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ศูนย์กลางการศึกษา และเป็นศูนย์กลางของการจับจ่าย เป็นย่านเศรษฐกิจ จึงต้องมีการเร่งรัดดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันอย่างเร่งด่วนเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในพื้นที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุงขึ้น เพื่อเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง และสร้างเครือข่ายเพิ่มช่องทางแจ้งเบาะแสการเข้าออกชุมชนจากผู้ที่มาจากพื้นที่เสี่ยงอย่างทันท่วงที และเพื่อป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าฯในพื้นที่ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็ง และไม่เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
- ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
- 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่
- 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
2. มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
3. สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ได้ทันท่วงที ไม่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อฯในพื้นที่
4. ไม่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
วันที่ 14 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นเงินจำนวน 95,395 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้ เป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ดังนี้
1. เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย INFRARED THERMOMETER FOREHEAD พร้อมขาตั้ง จำนวน 7
2. เครื่องวัดไข้ดิจิตอลแบบอินฟาเรดจำนวน 4 อัน
3. ที่กดเจลแบบเท้าเหยียบจำนวน 8 ตัว
4. วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ เช่น สเปรย์แอลกอฮอร์ 75% สบู่ล้างมือ หน้ากากอนามัย ชุดเสื้อฝน ชุด PPE ถุงมือ ฯลฯ
อุปกรณ์เหล่านี้ได้นำมาใช้ในการตั้งจุดเฝ้าระวังคัดกรองประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลตำบลฉลุงไม่ว่าจะเป็นการตั้งจุดคัดกรองตลาดวันอาทิตย์ ตลาดเปิดท้ายวันพุธ มัสยิดในกิจกรรมการละหมาด และประเพณีต่างๆ ซึ่งทางเทศบาลตำบลฉลุงจะนำอุปกรณ์ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด
0
0
2. 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
วันที่ 28 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดสั่งทำป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 1.00 ม. จำนวน 4 ผืน และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 2.40 ม. จำนวน 4 ผืน จากร้านโมเดิร์นการฟิค แอนด์ พริ้นติ้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตจากกิจกรรมนี้ คือ
1. ป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 1.00 ม. จำนวน 4 ผืน
2. ป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 2.40 ม. จำนวน 4 ผืน
ได้นำป้ายไวนิลลงติดตั้งในพื้นที่ชุมชน ทั้ง 4 ชุมชน เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ประชนในพื้นที่ ได้มีความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และได้ทราบถึงมาตรการของจังหวัดในปัจจุบันจากป้ายไวนิลด้วย
0
0
3. 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกิจกรรม เช่น (ถังรองรับมูลฝอยติดเชื้อ, ถุงแดง, ป้ายประชาสัมพันธ์ ฯลฯ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เป็นกิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ โดยมีถังขยะที่เฉพาะคัดแยกการทิ้งหน้ากากอนมัย ไว้ตามแหล่งชุมชน พร้อมประชาสัมพันธ์วิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ได้
0
0
4. 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกิจกรรม เช่น (ถังรองรับมูลฝอยติดเชื้อ, ถุงแดง, ป้ายประชาสัมพันธ์ ฯลฯ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เป็นกิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ โดยมีถังขยะที่เฉพาะคัดแยกการทิ้งหน้ากากอนมัย ไว้ตามแหล่งชุมชน พร้อมประชาสัมพันธ์วิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ได้
0
0
5. 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดตั้งจุดคัดกรองการเข้าออกพื้นที่ ตามสถานที่ต่างๆ และในเขตชุมชน โดยประชาชน อสม. ในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถคัดกรองผู้ที่ผ่านมายังชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพหนึ่งร้อยเปอร์เซนต์ ตรงตามวัตถุประสงค์ พร้อมการนำวัสดุอุปกรณ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สุด ไม่ว่าจะเป็น
1. เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย INFRARED THERMOMETER FOREHEAD พร้อมขาตั้ง จำนวน 7 อัน
2. เครื่องวัดไข้ดิจิตอลแบบอินฟาเรดจำนวน 4 อัน
3. ที่กดเจลแบบเท้าเหยียบจำนวน 8 ตัว
4. วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ เช่น สเปรย์แอลกอฮอร์ 75% สบู่ล้างมือ หน้ากากอนามัย ชุดเสื้อฝน ชุด PPE ถุงมือ ฯลฯ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินสามารถสรุปตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ร้อยละ 100
เทศบาลได้จัดให้มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารรสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยการจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้สร้างความตระหนักติดในชุมชนทั้ง 4 ชุมชน มีรถแห่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขผ่านระบบ ZOOM ของแอพพลิเคชั่นไลน์ และให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้ความรู้และการให้ความร่วมมือ ของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมร้อยละ 100
จากการประเมินความรู้และให้ความร่วมมือของประชาชนในพื้นที่ โดยการซักถามและสังเกตพฤติกรรมประชาชนในพื้นที่ให้ควาทร่วมมือเป้นอย่างดี จึงสรุปได้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
เทศบาลได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นต่อการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรค โดยใช้งบประมาณของกองทุนหลักประสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนและงบประมาณจากโครงการของเทศบาลเอง จึงทำให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงานครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง ร้อยละ 100 จึงสรุปว่าบรรลุวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2
3. เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อในพื้นที่
จากการดำเนินการเทศบาลได้ดำเนินการตามมาตรการของคณะกรรมการควบคุมป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งให้ความรู้สร้างความตระหนักไม่พร้อมกัน มีการวางแผนและดำเนินการร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ทำให้พื้นที่ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคโคโรนา 2019 (COVID - 19) จึงสามารถสรุปได้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ที่ถูกต้อง
ร้อยละ 100
100.00
100.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง ร้อยละร้อย
100.00
100.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ร้อยละร้อย
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
90
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) (2) 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (3) 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่ (4) 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 รหัสสัญญา .............................. ระยะเวลาโครงการ 10 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันโรคได้ถูกอย่างต้อง
รูปภาพ/สังเกตุการปฎิบัติตัวของประชาชน
การสร้างผู้นำถ่ายทอดความรู้ได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
ภาคประชาชนและหน่วยงานของรัฐได้มีส่วนร่วม
รูปภาพ
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ทุกคนมีวิธีป้องกันตัวเองจากการไม่ใส่หน้ากากอนามัย กลับมาใส่ตลอดเวลาออกนอกพื้นที่
รูปภาพ
ให้ความรู้ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์กลุ่ม และเพจสำนักงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
งดการรวมกลุ่มก้อน การพบปะสรรค์สันต์
สังเกตจากพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่
ทำเป็นข้อตกลงร่วมกัน งดกิจกรรมรวมกลุ่ม ต่างๆๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
มีความภูมิใจให้ตนเอง ได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือ ประชาชนด้วยกัน เวลามีการคัดกรองตามสถานที่ต่างๆ
ภาพถ่าย
มีการคัดเลือกชุนชนต้นแบบ ในการดูแลป้องกันตนเองจากโควิด-19
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
มีความช่วยซึ่งกันและกัน
พฤติกรรมการแบ่งปัน
พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 เลขที่ข้อตกลง ..............................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เชื้อไวรัสโคโรน่า (CoVs) เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (single stranded RNA virus) ใน Family Coronaviridae มีรายงานการพบเชื้อมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1965 โดยสามารถติดเชื้อได้ทั้งในคนและสัตว์ เช่น หนู ไก่ วัว ควาย สุนัข แมว กระต่าย และสุกร ประกอบด้วยชนิดย่อยหลายชนิดและทำให้มีอาการแสดงในระบบต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (รวมถึงโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส; SARS CoV) ระบบทางเดินอาหาร ระบบประสาท หรือระบบอื่นๆ พบได้ทั่วโลก การติดเชื้อโคโรนาไวรัสอาจทำให้เกิดอาการในระบบทางเดินหายใจส่วนบนได้ถึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อโคโรนาไวรัสอาจสูงถึงร้อยละ 15 โดยพบเริ่มจากประเทศจีนแล้วแพร่กระจายไปทั่วโลก การติดเชื้อไวรัสโคโรน่าในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Coronaviruses) อาจทำให้เกิดอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกที่มีอาการรุนแรง อาจมีลักษณะของปอดอักเสบ (Pneumonia) หรือ หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็กโตอาจมีอาการของหอบหืด(Asthma) ส่วนในผู้ใหญ่ อาจพบลักษณะปอดอักเสบ (Pneumonia) หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) หรือการกลับเป็นซ้ำของโรคหอบหืดได้ และอาจทำให้เกิดอาการรุนแรงได้มากในผู้สูงอายุหรือผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการได้ในทุกอายุ และหากแสดงอาการมักพบร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น Rhinovirus, Adenovirus หรือเชื้ออื่นๆ การติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome; SAR CoV) จะพบมีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หรืออาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ แล้วมีอาการไอ และ
หอบเหนื่อยอย่างรวดเร็ว ซึ่งอัตราตายจะสูงขึ้นในผู้ป่วยสูงอายุ หรือมีโรคประจำตัว การติดเชื้อโคโรน่าไวรัสในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Coronaviruses) มักพบบ่อยในเด็กแรกเกิด และทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี หรืออาจพบในผู้ใหญ่ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบเชื้อได้แม้ผู้ป่วยไม่แสดงอาการ และไม่มีฤดูกาลการเกิดโรคที่แน่นอน วิธีการแพร่โรค : แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ หรือแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อโดยการ ไอ หรือจาม
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2564 พบว่าผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศ 152 ราย ติดเชื้อในแรงงานต่างด้าว (คัดกรองเชิงรุก) 577 ราย สถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ 16 ราย รักษาหายเพิ่มขึ้น 38 ราย กลับบ้านแล้ว 4,352 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 1 ศพ ยอดผู้เสียชีวิตรวม 65 ศพ ยอดผู้ป่วยยืนยันสะสม 8,439 ราย นับเป็นรายที่ 7,695 - 8,439 ประเทศไทย เป็นอันดับที่ 134 ของโลก โดยมีพื้นที่ควบคุมสูงสุด 28 จังหวัด พื้นที่ควบคุม 11 จังหวัด และพื้นที่เฝ้าระวังสูง 38 จังหวัด จังหวัดสตูลอยู่ในกลุ่มพื้นที่เฝ้าระวังสูงสุด เนื่องจากมีผู้ป่วยติดเชื้อฯ จำนวน 2 ราย และมีไทม์ไลน์ในการสัมผัสผู้คนในพื้นที่
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมากเนื่องจากเขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ศูนย์กลางการศึกษา และเป็นศูนย์กลางของการจับจ่าย เป็นย่านเศรษฐกิจ จึงต้องมีการเร่งรัดดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันอย่างเร่งด่วนเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในพื้นที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุงขึ้น เพื่อเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง และสร้างเครือข่ายเพิ่มช่องทางแจ้งเบาะแสการเข้าออกชุมชนจากผู้ที่มาจากพื้นที่เสี่ยงอย่างทันท่วงที และเพื่อป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าฯในพื้นที่ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็ง และไม่เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
- ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
- 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่
- 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
2. มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
3. สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ได้ทันท่วงที ไม่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อฯในพื้นที่ 4. ไม่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) |
||
วันที่ 14 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นเงินจำนวน 95,395 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตที่ได้ เป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ดังนี้
1. เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย INFRARED THERMOMETER FOREHEAD พร้อมขาตั้ง จำนวน 7 อุปกรณ์เหล่านี้ได้นำมาใช้ในการตั้งจุดเฝ้าระวังคัดกรองประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลตำบลฉลุงไม่ว่าจะเป็นการตั้งจุดคัดกรองตลาดวันอาทิตย์ ตลาดเปิดท้ายวันพุธ มัสยิดในกิจกรรมการละหมาด และประเพณีต่างๆ ซึ่งทางเทศบาลตำบลฉลุงจะนำอุปกรณ์ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด
|
0 | 0 |
2. 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ |
||
วันที่ 28 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดสั่งทำป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 1.00 ม. จำนวน 4 ผืน และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20x 2.40 ม. จำนวน 4 ผืน จากร้านโมเดิร์นการฟิค แอนด์ พริ้นติ้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตจากกิจกรรมนี้ คือ
|
0 | 0 |
3. 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ |
||
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกิจกรรม เช่น (ถังรองรับมูลฝอยติดเชื้อ, ถุงแดง, ป้ายประชาสัมพันธ์ ฯลฯ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นกิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ โดยมีถังขยะที่เฉพาะคัดแยกการทิ้งหน้ากากอนมัย ไว้ตามแหล่งชุมชน พร้อมประชาสัมพันธ์วิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ได้
|
0 | 0 |
4. 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ |
||
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกิจกรรม เช่น (ถังรองรับมูลฝอยติดเชื้อ, ถุงแดง, ป้ายประชาสัมพันธ์ ฯลฯ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นกิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ โดยมีถังขยะที่เฉพาะคัดแยกการทิ้งหน้ากากอนมัย ไว้ตามแหล่งชุมชน พร้อมประชาสัมพันธ์วิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ได้
|
0 | 0 |
5. 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่ |
||
วันที่ 19 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดตั้งจุดคัดกรองการเข้าออกพื้นที่ ตามสถานที่ต่างๆ และในเขตชุมชน โดยประชาชน อสม. ในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถคัดกรองผู้ที่ผ่านมายังชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพหนึ่งร้อยเปอร์เซนต์ ตรงตามวัตถุประสงค์ พร้อมการนำวัสดุอุปกรณ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สุด ไม่ว่าจะเป็น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินสามารถสรุปตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ร้อยละ 100
เทศบาลได้จัดให้มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารรสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยการจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้สร้างความตระหนักติดในชุมชนทั้ง 4 ชุมชน มีรถแห่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขผ่านระบบ ZOOM ของแอพพลิเคชั่นไลน์ และให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้ความรู้และการให้ความร่วมมือ ของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมร้อยละ 100
จากการประเมินความรู้และให้ความร่วมมือของประชาชนในพื้นที่ โดยการซักถามและสังเกตพฤติกรรมประชาชนในพื้นที่ให้ควาทร่วมมือเป้นอย่างดี จึงสรุปได้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
เทศบาลได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นต่อการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรค โดยใช้งบประมาณของกองทุนหลักประสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนและงบประมาณจากโครงการของเทศบาลเอง จึงทำให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงานครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง ร้อยละ 100 จึงสรุปว่าบรรลุวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2
3. เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อในพื้นที่
จากการดำเนินการเทศบาลได้ดำเนินการตามมาตรการของคณะกรรมการควบคุมป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งให้ความรู้สร้างความตระหนักไม่พร้อมกัน มีการวางแผนและดำเนินการร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ทำให้พื้นที่ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคโคโรนา 2019 (COVID - 19) จึงสามารถสรุปได้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง ร้อยละร้อย |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ร้อยละร้อย |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | 140 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อไม่ให้มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. 1. กิจกรรมเฝ้าระวังเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) (2) 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) - ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ผ่านรถแห่ - ประชาสัมพันธ์ผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (3) 3. กิจกรรมเฝ้าระวังคัดกรองในพื้นที่ชุมชนและสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง -ตั้งจุดคิดกรองการเข้าออกพื้นที่ (4) 4.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยการคัดแยกขยะ การทิ้งและกำจัดขยะติดเชื้อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 รหัสสัญญา .............................. ระยะเวลาโครงการ 10 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันโรคได้ถูกอย่างต้อง
รูปภาพ/สังเกตุการปฎิบัติตัวของประชาชน
การสร้างผู้นำถ่ายทอดความรู้ได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
ภาคประชาชนและหน่วยงานของรัฐได้มีส่วนร่วม
รูปภาพ
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ทุกคนมีวิธีป้องกันตัวเองจากการไม่ใส่หน้ากากอนามัย กลับมาใส่ตลอดเวลาออกนอกพื้นที่
รูปภาพ
ให้ความรู้ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์กลุ่ม และเพจสำนักงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
งดการรวมกลุ่มก้อน การพบปะสรรค์สันต์
สังเกตจากพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่
ทำเป็นข้อตกลงร่วมกัน งดกิจกรรมรวมกลุ่ม ต่างๆๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
มีความภูมิใจให้ตนเอง ได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือ ประชาชนด้วยกัน เวลามีการคัดกรองตามสถานที่ต่างๆ
ภาพถ่าย
มีการคัดเลือกชุนชนต้นแบบ ในการดูแลป้องกันตนเองจากโควิด-19
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
มีความช่วยซึ่งกันและกัน
พฤติกรรมการแบ่งปัน
พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01 รหัสสัญญา .............................. ระยะเวลาโครงการ 10 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันโรคได้ถูกอย่างต้อง |
รูปภาพ/สังเกตุการปฎิบัติตัวของประชาชน |
การสร้างผู้นำถ่ายทอดความรู้ได้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | ภาคประชาชนและหน่วยงานของรัฐได้มีส่วนร่วม |
รูปภาพ |
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล | ทุกคนมีวิธีป้องกันตัวเองจากการไม่ใส่หน้ากากอนามัย กลับมาใส่ตลอดเวลาออกนอกพื้นที่ |
รูปภาพ |
ให้ความรู้ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์กลุ่ม และเพจสำนักงาน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | งดการรวมกลุ่มก้อน การพบปะสรรค์สันต์ |
สังเกตจากพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่ |
ทำเป็นข้อตกลงร่วมกัน งดกิจกรรมรวมกลุ่ม ต่างๆๆ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | มีความภูมิใจให้ตนเอง ได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือ ประชาชนด้วยกัน เวลามีการคัดกรองตามสถานที่ต่างๆ |
ภาพถ่าย |
มีการคัดเลือกชุนชนต้นแบบ ในการดูแลป้องกันตนเองจากโควิด-19 |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร | มีความช่วยซึ่งกันและกัน |
พฤติกรรมการแบ่งปัน |
พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เทศบาลตำบลฉลุง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L7580-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......